Kategorier: Alle - สารสนเทศ - การเรียนรู้ - ความรู้ - การจัดการ

av Nittaya Thammachot 5 år siden

179

สังคมความรู้ (knowledge sociaty)

สังคมความรู้คือสังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศอย่างสูงสุด โดยกระบวนการจัดการความรู้เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงานและชีวิตประจำวัน การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กรเป็นสิ่งที่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ สถาบันทางสังคมและกลุ่มภาคประชาชนมีบทบาทสำคัญในการริเริ่มและดำเนินการเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ การเข้าถึงและการสร้างความรู้ใหม่เป็นสิ่งที่ช่วยให้สังคมสามารถสะสมและถ่ายโอนความรู้ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ความรู้ยังสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทหลักคือ Tacit knowledge ที่ซ่อนอยู่ในตัวบุคคลและ Explicit knowledge ที่เด่นชัดและสามารถแบ่งปันได้ง่าย การประมวลผลข้อมูลและสารสนเทศเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการแปลงข้อมูลให้เป็นความรู้ที่มีประโยชน์ สังคมความรู้เป็นยุคที่ส่งเสริมให้ทุกคนเป็นทั้งครูและผู้เรียน โดยความรับผิดชอบในการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงสังคมเป็นหน้าที่ร่วมกันของบุคคลและชุมชน

สังคมความรู้ (knowledge sociaty)

สังคมความรู้ (knowledge sociaty)

กระบวนการจัดการความรู้

ควรทำการเรียนรู้ให้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ในองค์กร
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
การสร้างและแสวงหาความรู้
การบ่งชี้ความรู้

คำนิยาม

ส่งเสริมให้บุคคลเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ ใช้เป็นเครื่องมือในการเลือก ตัดสินใจ และแก้ปัญหา
สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้สูงสุด

ยุคของสังคมความรู้

ยุคที่่2 พอเพียง ปชช.ทุกภาคส่วนร่วม
ลักษณะสังคม

มีการนำความรู้มาประยุกต์ใช้

มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่

มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

ยุคที่ 1 พลัง+อำนาจ
การกระจายความรู้
ทำให้ความรู้ง่ายต่อการใช้งาน
การตีค่าความรู้
การประเมินความรู้
การเข้าถึงความรู้

ความรู้

ประเภทของความรู้
Explicit knowledge

ความรู้ที่เด่นชัด

Tacit knowledge

ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในตัว

"ความรู้"
Knowledge(ความรู้)

เกิดจากทุกกระบวนการ+ประสบการณ์ สามารถเพิ่มขึ้นไม่จำกัด

Information(สารสนเทศ)

ผ่านการประมวลผลสามราถนำมาให้ประโยชน์ได้

Data(ข้อมูล)

ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups)
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง