Kategorier: Alle - การเรียนรู้ - ทักษะ - เทคโนโลยี - นวัตกรรม

av Phatnaree PHOPHAN 5 år siden

746

นวัตกรรมการศึกษากับการเรียนรู้ในยุค 4.0

การศึกษาในยุค 4.0 จำเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและความต้องการของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ที่มีความหลากหลายและซับซ้อนมากยิ่งขึ้น นวัตกรรมทางการศึกษาได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนในช่วงแรกๆ จนถึงการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น e-Learning, MOOCs และการเรียนรู้ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ทันสมัย การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้นการพัฒนาทักษะเฉพาะหน้า ทักษะพื้นฐาน และทักษะจำเป็นเพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวและประสบความสำเร็จในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้สอนต้องมีคุณลักษณะที่เหมาะสมและใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางหรือการเรียนรู้ผ่านชุมชน นอกจากนี้ยังมีการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เช่น VR, AR, Cloud Computing และ 3D Printing เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่น่าสนใจและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

นวัตกรรมการศึกษากับการเรียนรู้ในยุค 4.0

นวัตกรรมการศึกษากับการเรียนรู้ในยุค 4.0

นวัตกรรมการศึกษา

ตัวอย่างนวัตกรรมการศึกษา
E - Learning
WBI
Games Based Learning
Interactive Multimedia
AR
MOOCs
VR
E-Book
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3D Printing for Education
Virtual Classroom
Distance Learning
Cloud Computing
Learning Package
ความสำคัญ
วิวัฒนาการของนวัตกรรม
ระยะที 7 (ตั้งแต่ประมาณ ค.ศ. 2010) Next-Generation Digital Learning Platform
ระยะที 6 (ตั้งแต่ประมาณ ค.ศ.2005-2010) MOOC, Mobile First and Gamification
ระยะที 5 (ตั้งแต่ประมาณ ค.ศ.2000-2005) Social Media for Learning
ระยะที 4 (ตั้งแต่ประมาณ ค.ศ.1995-2000) e-Learning
ระยะที 3 (ตั้งแต่ประมาณ ค.ศ.1990) Web-Based Instruction
ระยะที 2 (ตั้งแต่ประมาณ ค.ศ.1980) Computer-Assisted Instruction
ระยะที่ 1 (ตั้งแต่ประมาณ ค.ศ.1975) Programmed Instruction, Drill and Practice
ขอบเขต
แนวคิด ระบบ Harware Software กระบวนการ สิ่งใหม่ๆ
ความพร้อม
องค์กรเป็นสำคัญ
ความหมาย
นวัตกรรม

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

คอนเนคติวิสต์
นวัตกรรมการศึกษา = Social Media for Learning, OER, MOOC
วิธีการสอน = แบ่งปันเนื้อหาในการเรียนรู้, เรียนรู้แบบกำกับตนเองผสานสร้างเครือข่ายการเรียนรู้, การเรียนรู้แบบร่วมมือกันผ่านเครือข่าย
เรียนรู้จากการตัดสินใจของผู้เรียนในการเลือกทรัพยากรการเรียนรู้ที่อยู่รอบตัว
คอนสตรัคติวิสต์
นวัตกรรมการศึกษา = e-Learning, LMS, Webquest, Scratch
วิธีการสอน = Project based Learning, Problem based Learning, Inquiry based Learning
การเรียนรู้เกิดจากประสบการณ์ในการกระทำ
ปัญญานิยม
นวัตกรรมการศึกษา = CAI WBI
วิธีการสอน = เรียนแบบเชื่อมโยง Mind Map
มีการสอนหลากหลายรูปแบบ
พฤติกรรมนิยม
นวัตกรรมการศึกษา = บทเรียนโปรแกรม
วิธีการสอน = บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง เน้นท่องจำ
ผู้เรียนเรียนเรียนรู้จากผู้สอนโดยตรง เน้นลงมือทำซ้ำๆ

การเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

รูปแบบการเรียนรู้แนวใหม่
ผู้เรียนเป็นผู้นำ/ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner-Led)
สังคม/ชุมชนนำ (Community-Led)
การเรียนแบบครูนำ(Teacher-Led)
คุณลักษณะผู้สอน
9Cs
คุณลักษณะที่จำเป็น 8 ประการ Gen Z
ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
กรอบแนวคิด WEF

กลุ่มที่ 3 ทักษะเฉพาะหน้า Character Qualities

กลุ่มที่ 2 ทักษะจำเป็น Competencies

กลุ่มที่ 1 ทักษะพื้นฐาน Foundational Literacies

โครงสร้างสนับสนุน
เจตคติที่พึงประสงค์

ทักษะชีวิตในการทำงาน

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

ด้าน IT

4Cs

แนวคิดสำคัญ

วิชาแกน

การเรียนรู้ และการศึกษา 4.0

การศึกษา 4.0 สำหรับประเทศไทย
8Cs
3Rs
การศึกษา 4.0
4.0 การศึกษาเพื่อการเพิ่มศักยภาพในการผลิตนวัตกรรม
3.0 การบริโภคและการสร้างองค์ความรู้
2.0 การเรียนรู้ที่เพิ่มศักยภาพโดยอินเทอร์เน็ต
1.0 การเรียนรู้ที่เน้นการท่องจำ
ที่มาของคำว่าการศึกษา 4.0
4.0

ในประเทศไทย คือ ยุคแห่งอุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล

อาศัยเทคโนโลยีดิจิทัลระดับสูงในการผลิตสินค้าต่าง ๆ

3.0

ในประเทศไทย คือยุคแห่งอุตสาหกรรมหนัก

ยุคที่นำอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มาใช้ในการผลิตสินค้า

2.0

ในประเทศไทย คือยุคแห่งอุตสาหกรรมเบา

การผลิตสินค้าจำนวนมหาศาล จากพลังงานไฟฟ้า ด้วยแรงงานจ านวนมาก จากพลังงานไฟฟ้า

1.0

ในประเทศไทย คือยุคแห่งสินค้าเกษตรกรรม

การผลิตเครื่องจักรกลที่อาศัยพลังงานจากน้ำและพลังงานไอน้ำ

Education Disruption and Learning Transformation
Learning Transformation

ผู้เรียนยุคใหม่

วิธีคิดแบบเดิมเกี่ยวกับวิธีจัดการศึกษา

Education Disruption

รูปแบบใหม่ของการศึกษาที่รู้จักกันในชื่อของ MOOC

เทคโนโลยีดิจิทัลขั้นสูง

อัตราการการเกิดใหม่ของเด็กทั่วโลกมีจ านวนที่น้อยลงมาก