作者:Hiro ki 4 年以前
261
更多类似内容
แบบถอดความ (Paraphrase Note)
ใช้ในกรณีต้นฉบับเป็น
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาที่ไม่แพร่หลายคุ้นเคย เช่น ภาษาบาลี
ร้อยกรองแต่ต้องการใช้เป็นร้อยแก้ว
แบบคัดลอกข้อความ (Quotation Note)
ลักษณะของข้อความที่บันทึกโดยวิธีคัดลอก
เป็นข้อความซึ่งเป็นคติเตือนใจมีความงามและความไพเราะทางภาษา
มีเนื้อหาสาระหนักเเน่น กะทัดรัด ลุ่มลึก เฉียบคม กินใจ
เป็นสูตรกฎหรือระเบียบข้อบังคับ
เป็นคำจำกัดความหรือความหมายของคำ
แบบย่อความ (Summary Note)
ตัวอย่างบัตรบันทึกความรู้
ข้อความที่บันทึก
เลขหน้าที่ปรากฏของข้อมูล
แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม
หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า ลงไว้ที่หัวมุมบนขวาของบัตร
บัตรแข็งขนาด5x8หรือ4x6หรือกระดาษรายงานA4พับครึ่งใช้บันทึกข้อมูลที่ต้องการ
ใจความสำคัญ
แหล่งที่มาของข้อมูล
คำสำคัญหรือแนวคิด
การนำไปใช้งาน
1.ใช้ระดมพลังสมอง 2.ใช้นำเสนอข้อมูล 3.ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจำ 4.ใช้วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ 5.ใช้สรุปหรือสร้างองค์ความรู้
วิธีการเขียน
ตกแต่งให้สวยงามและสอดคล้องกับธีมที่ทำ
1.เตรียมกระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน 2.วาดภาพสีหรือข้อความที่สื่อถึงเรื่องจะทำกลางหน้ากระดาษโดยใช้สีอย่างน้อย3สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต 3.เขียนหัวเรื่องสำคัญของเรื่องทีทำ โดยเขียนเป็นKey Wordสั้นๆบนเส้นซึ่งเส้นแต่ละเส้นจะต้องแตกออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิ่ง 4.แตกความคิดของหัวเรื่องสำคัญแต่ละเรื่องออกเป็นกิ่งๆโดยเขียนข้อความบนเส้นที่แตกออกไป ลักษณะของกิ่งควรเอนไม่เกิน 60 องศา 5.แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละกิ่งในข้อ4 โดยเขียนคำหรือวลีเส้นที่แตกออกไป ซึ่งสามารถแตกความคิดออกไปเรื่อย ๆ 6.การเขียนควรใช้ key word ที่มีความหมายชัดเจน 7.ส่วนไหนที่ต้องการให้เด่น อาจใช้วิธีการทำให้เด่น เช่นการล้อมกรอบ หรือใส่กล่อง
ขั้นตอนการสร้าง
1.เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ 2.เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบๆ 3.เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อยๆ 4.ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด 5. เขียนคำสำคัญ (Key word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน 6.กรณีใช้สี ทั้งมโนทัศน์และรองควรเป็นสีเดียวกัน 7.คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำ
บทสรุป
เนื้อหา (ส่วนที่จากการสืบค้นและเลือกใช้ข้อมูลและนำมาจัดกลุ่ม)
2.หัวข้อใหญ่ 2.1หัวข้อรอง 2.1.1หัวข้อย่อย 2.1.2หัวข้อย่อย 2.2หัวข้อรอง 2.2.1หัวข้อย่อย 2.2.2หัวข้อย่อย 3.หัวข้อใหญ่ 3.1หัวข้อรอง 3.2หัวข้อรอง
บทนำ
จะได้โครงร่างคร่าวๆ ที่มองเห็นภาพรวมของข้อมูล(ใส่ข้อมูล มุมมอง เรียบเรียงข้อมูลด้วยภาษาของตนเอง)
จัดเรียงข้อมูลที่ได้เพื่อจัเขียนโครงร่างเพื่อให้เห็นลำดับชั้นความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของข้อมูล
ลองจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของข้อมูล โดยใส่เลขเรื่องตัวอักษรลงไป
ทำHighlight/Mark ส่วนสำคัญ
นำข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งต่างๆที่ได้มาอ่านอีกครั้ง
-จัดกลุ่ม(ประเด็นใหญ่/ประเด็นย่อย) -เรียงตามลำดับอักษร -ตามลำดับเวลา (เช่น เหตุการณ์) -ตั้งแต่ต้นจนจบ(เช่น story) -ใช้หลายๆ วิธีข้างต้นผสมผสานกัน
สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information)
บรรณานุกรม ดัชนีวารสาร
สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)
เป็นการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาใช้
สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information)
งานต้นฉบับหรืองานที่ผู้เขียนเผยแพร่ครั้งแรก
ประเมินความทันสมัย
ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศ
สื่อสิ่งพิมพ์แบบใด สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบใด
ประเมินความน่าเชื่อถือของผู้เขียนผู้จัดทำสำนักพิมพ์
ยศ ตำแหน่ง
ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของสารสนเทศ
วารสารวิชาการ นิตยสาร
ทำได้โดยการอ่าน - ชื่อเรื่อง - คำนำ - สารบัญ - เนื้อเรื่องย่อ
มาจากแหล่งที่ต้องการ และรูปแบบที่ต้องการ
นำไปใช้ทำอะไร
มีเนื้อหาตอบโจทย์
ถ้าเป็นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต ให้ดูว่ามีการเชื่อมโยงรายละเอียดกับเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ หรือมีการคำอธิบายประกอบครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด
ให้ความรู้ในระดับใด
มีเนื้อหาครอบคลุมหรือไม่
เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์หรือเป็นเพียงบทสรุป บทคัดย่อ สาระสังเขป
ผู้จัดพิมพ์เป็นองค์กรหรือสมาคมมืออาชีพที่มีประสบการณ์หรือไม่
เป็นโรงพิมพ์ของมหาวิทยาลัยหรือไม
จัดพิมพ์จำนวนมากหรือน้อยเพียงใด
ผู้ที่จัดพิมพ์เป็นที่รู้จักกันดีในสาขาวิชานั้นๆ
มีผลงานเขียนที่เกี่ยวข้องกันในที่อื่นๆอีกหรือไม่
มีคุณวุฒิและประสบการณ์ในเรื่องที่เขียนหรือไม่
มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม่
ผู้แต่งใช้ข้อเท็จจริงสนับสนุนการแสดงความคิดเห็นหรือไม่
เนื้อหามีความลำเอียงหรือไม่
การเขียน การสะกดคำ ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
เป็นสารสนเทศระดับใด
มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมหรือไม
เปรียบเทียบแหล่งที่มาของสารสนเทศกับแหล่งอื่นๆ