Categorie: Tutti - สารสนเทศ - สังเคราะห์ - รายงาน - วิเคราะห์

da Hiro ki mancano 4 anni

261

Evaluate,Analysis,Synthesis

กระบวนการการใช้สารสนเทศในงานรายงานหรือบทนิพนธ์ต้องผ่านขั้นตอนการสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการประเมิน การสังเคราะห์รวมถึงการจัดกลุ่มข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ตามประเด็นหรือเวลา และการเรียงลำดับอย่างเป็นระบบ การจัดสารสนเทศสามารถทำได้โดยการจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของข้อมูลและเขียนโครงร่างเพื่อให้เห็นภาพรวม การนำเสนอสารสนเทศต้องมีการเชื่อมโยงกับจุดประสงค์แรกเริ่มและพิจารณารูปแบบที่เหมาะสม การเขียนแผนผังความคิดช่วยในการระดมสมอง นำเสนอข้อมูล จัดระบบความคิด และช่วยความจำ ขั้นตอนการสร้างแผนผังความคิดเริ่มที่วาดมโนทัศน์หลักตรงกลางหน้าแล้วขยายออกไปยังมโนทัศน์รองและย่อย ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์แทนความคิด ใช้คำสำคัญบนเส้นที่เชื่อมโยงกัน และใช้สีเพื่อความชัดเจน

Evaluate,Analysis,Synthesis

Evaluate,Analysis,Synthesis

บัตรบันทึกความรู้
วิธีการเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา

แบบถอดความ (Paraphrase Note)

ใช้ในกรณีต้นฉบับเป็น

ภาษาต่างประเทศ

ภาษาที่ไม่แพร่หลายคุ้นเคย เช่น ภาษาบาลี

ร้อยกรองแต่ต้องการใช้เป็นร้อยแก้ว

แบบคัดลอกข้อความ (Quotation Note)

ลักษณะของข้อความที่บันทึกโดยวิธีคัดลอก

เป็นข้อความซึ่งเป็นคติเตือนใจมีความงามและความไพเราะทางภาษา

มีเนื้อหาสาระหนักเเน่น กะทัดรัด ลุ่มลึก เฉียบคม กินใจ

เป็นสูตรกฎหรือระเบียบข้อบังคับ

เป็นคำจำกัดความหรือความหมายของคำ

แบบย่อความ (Summary Note)

ส่วนประกอบ

ตัวอย่างบัตรบันทึกความรู้

ข้อความที่บันทึก

เลขหน้าที่ปรากฏของข้อมูล

แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม

หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า ลงไว้ที่หัวมุมบนขวาของบัตร

บัตรแข็งขนาด5x8หรือ4x6หรือกระดาษรายงานA4พับครึ่งใช้บันทึกข้อมูลที่ต้องการ

ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ
จัดกลุ่มเนื้อหาของบัตรบันทึกตามประเด็นและแนวคิด
บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการลงบัตรบันทึก

ใจความสำคัญ

แหล่งที่มาของข้อมูล

คำสำคัญหรือแนวคิด

พิจารณาเนื้อหาที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการศึกษา
อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง

การสังเคราะห์(Synthesis)

นำเสนอสารสนเทศ (Present the information)
การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด (Mind Map)

การนำไปใช้งาน

1.ใช้ระดมพลังสมอง 2.ใช้นำเสนอข้อมูล 3.ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจำ 4.ใช้วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ 5.ใช้สรุปหรือสร้างองค์ความรู้

วิธีการเขียน

ตกแต่งให้สวยงามและสอดคล้องกับธีมที่ทำ

1.เตรียมกระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน 2.วาดภาพสีหรือข้อความที่สื่อถึงเรื่องจะทำกลางหน้ากระดาษโดยใช้สีอย่างน้อย3สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต 3.เขียนหัวเรื่องสำคัญของเรื่องทีทำ โดยเขียนเป็นKey Wordสั้นๆบนเส้นซึ่งเส้นแต่ละเส้นจะต้องแตกออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิ่ง 4.แตกความคิดของหัวเรื่องสำคัญแต่ละเรื่องออกเป็นกิ่งๆโดยเขียนข้อความบนเส้นที่แตกออกไป ลักษณะของกิ่งควรเอนไม่เกิน 60 องศา 5.แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละกิ่งในข้อ4 โดยเขียนคำหรือวลีเส้นที่แตกออกไป ซึ่งสามารถแตกความคิดออกไปเรื่อย ๆ 6.การเขียนควรใช้ key word ที่มีความหมายชัดเจน 7.ส่วนไหนที่ต้องการให้เด่น อาจใช้วิธีการทำให้เด่น เช่นการล้อมกรอบ หรือใส่กล่อง

ขั้นตอนการสร้าง

1.เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ 2.เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบๆ 3.เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อยๆ 4.ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด 5. เขียนคำสำคัญ (Key word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน 6.กรณีใช้สี ทั้งมโนทัศน์และรองควรเป็นสีเดียวกัน 7.คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำ

มีความเชื่อมโยงกันระหว่างขั้นตอนที่1 Task definition (ตอนแรกตั้งจุดประสงค์ไว้ว่าอย่างไร/สามารถปรับในภายหลังได้)
พิจารณาว่ารูปแบบที่ใช้เหมาะสมกับหัวข้อที่ศึกษา
การเขียนโครงร่าง (Outline)
องค์ประกอบในการวางโครงร่าง

บทสรุป

เนื้อหา (ส่วนที่จากการสืบค้นและเลือกใช้ข้อมูลและนำมาจัดกลุ่ม)

2.หัวข้อใหญ่ 2.1หัวข้อรอง 2.1.1หัวข้อย่อย 2.1.2หัวข้อย่อย 2.2หัวข้อรอง 2.2.1หัวข้อย่อย 2.2.2หัวข้อย่อย 3.หัวข้อใหญ่ 3.1หัวข้อรอง 3.2หัวข้อรอง

บทนำ

เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดและขอบเขตของเรื่องจัดลำดับหัวข้อให้มีความสัมพันธ์กัน และต่อเนื่องกัน
ความหมาย
การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกันไว้ด้วยกันแล้วนำมาจัดกลุ่มอีกครั้งในลักษณะลำดับชั้นหรือรูปแบบของโครงร่าง(outline)ซึ่งจะทำให้เห็นความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูลแล้วรวบรวมหรือสรุปให้ได้เนื้อหาใหม่ด้วยการใช้สำนวนภาษาของตนเองที่มีความถูกต้องตลอดจนนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อนำไปใช้ได้ตรงกับความต้องการ
กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ
ประเมินโครงร่างที่ได้ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่ ถ้าไม่ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม
เขียนเป็นโครงร่าง
นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับชั้น
จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันไว้ด้วยกัน
จัดสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งต่างๆ (Organize from multiple sources)
วิธีการจัดสารสนเทศสามารถทำได้แบบง่ายๆดังนี้

จะได้โครงร่างคร่าวๆ ที่มองเห็นภาพรวมของข้อมูล(ใส่ข้อมูล มุมมอง เรียบเรียงข้อมูลด้วยภาษาของตนเอง)

จัดเรียงข้อมูลที่ได้เพื่อจัเขียนโครงร่างเพื่อให้เห็นลำดับชั้นความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของข้อมูล

ลองจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของข้อมูล โดยใส่เลขเรื่องตัวอักษรลงไป

ทำHighlight/Mark ส่วนสำคัญ

นำข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งต่างๆที่ได้มาอ่านอีกครั้ง

การจัดสารสนเทศโดยทั่วไป

-จัดกลุ่ม(ประเด็นใหญ่/ประเด็นย่อย) -เรียงตามลำดับอักษร -ตามลำดับเวลา (เช่น เหตุการณ์) -ตั้งแต่ต้นจนจบ(เช่น story) -ใช้หลายๆ วิธีข้างต้นผสมผสานกัน

Vocabulary

Paraphrase ถอดความ
Quotation คัดลอก
Summary ย่อ สรุป
Outline โครงร่าง
Synthesis การสังเคราะห์
Analysis การวิเคราะห์
Evaluate การประเมิน
Up to date ทันสมัย
Timeliness ตรงตามเวลา
Verifiability ตรวจสอบได้
Accessible เข้าถึงได้ง่าย
Relevance สอดคล้อง
Completeness ความสมบูรณ์
Reliable ความ่นาเชื่อถือ
Accuracy มีความถูกต้อง
หลักการประเมินสารสนเทศ
เนื้อหาอยู่ในระดับใด

สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information)

บรรณานุกรม ดัชนีวารสาร

สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)

เป็นการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาใช้

สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information)

งานต้นฉบับหรืองานที่ผู้เขียนเผยแพร่ครั้งแรก

มีความน่าเชื่อถือหรือไม่

ประเมินความทันสมัย

ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศ

สื่อสิ่งพิมพ์แบบใด สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบใด

ประเมินความน่าเชื่อถือของผู้เขียนผู้จัดทำสำนักพิมพ์

ยศ ตำแหน่ง

ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของสารสนเทศ

วารสารวิชาการ นิตยสาร

ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่

ทำได้โดยการอ่าน - ชื่อเรื่อง - คำนำ - สารบัญ - เนื้อเรื่องย่อ

การเลือกใช้สารสนเทศ

การนำสารสนเทศที่ค้นคว้าได้ไปใช้เพื่อทำรายงานหรือบทนิพนธ์ต้องผ่านกระบวนการ
การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthes
การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)
การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่
ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตให้ดูเวลาการปรับปรุงข้อมูล
เผยแพร่จัดพิมพ์ในเวลาใกล้เคียงกับเหตุการณ์นั้นๆ
ถ้าไม่ระบุช่วงเวลาที่เผยแพร่ ให้พิจารณาแหล่งที่มาให้ถี่ถ้วนก่อนนำมาใช้
เผยแพร่เมื่อใด
พิจารณาให้ตรงกับความต้องการของเนื้อหา
เป้าหมายของสารสนเทศ

มาจากแหล่งที่ต้องการ และรูปแบบที่ต้องการ

นำไปใช้ทำอะไร

มีเนื้อหาตอบโจทย์

พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ
พิจารณาขอบเขตของเนื้อหา

ถ้าเป็นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต ให้ดูว่ามีการเชื่อมโยงรายละเอียดกับเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ หรือมีการคำอธิบายประกอบครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด

ให้ความรู้ในระดับใด

มีเนื้อหาครอบคลุมหรือไม่

เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์หรือเป็นเพียงบทสรุป บทคัดย่อ สาระสังเขป

พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต

ผู้จัดพิมพ์เป็นองค์กรหรือสมาคมมืออาชีพที่มีประสบการณ์หรือไม่

เป็นโรงพิมพ์ของมหาวิทยาลัยหรือไม

จัดพิมพ์จำนวนมากหรือน้อยเพียงใด

ผู้ที่จัดพิมพ์เป็นที่รู้จักกันดีในสาขาวิชานั้นๆ

พิจารณาผู้แต่ง

มีผลงานเขียนที่เกี่ยวข้องกันในที่อื่นๆอีกหรือไม่

มีคุณวุฒิและประสบการณ์ในเรื่องที่เขียนหรือไม่

มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม่

พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความเที่ยงตรง

ผู้แต่งใช้ข้อเท็จจริงสนับสนุนการแสดงความคิดเห็นหรือไม่

เนื้อหามีความลำเอียงหรือไม่

ความถูกต้องของสารสนเทศ

การเขียน การสะกดคำ ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

เป็นสารสนเทศระดับใด

มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมหรือไม

เปรียบเทียบแหล่งที่มาของสารสนเทศกับแหล่งอื่นๆ

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน (Up to date)
ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)
ตรวจสอบได้ (Verifiability)
เข้าถึงได้ง่าย (Accessible)
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)
ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)
มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)
ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)