类别 全部 - สมอง - ทักษะ - แบดมินตัน

作者:Wanwipa Warapiang 4 年以前

630

การศึกษาประสิทธิภาพของการเล่นแบดมินตันกับการพัฒนาสมองส่วนหน้า และทักษะการประสานมือและ�

การวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่การศึกษาประสิทธิภาพของการเล่นแบดมินตันในการพัฒนาทักษะการประสานมือและตา และการพัฒนาสมองส่วนหน้าในเด็กที่มีภาวะสมาธิสั้น กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กผู้ป่วยที่ได้รับยา methylphenidate และไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมบำบัดมาก่อน จำนวน 32 คน แบ่งเป็นผู้หญิง 8 คนและผู้ชาย 24 คน การทดสอบประกอบด้วยการโยนรับลูกบอลเข้าผนังในเวลา 30 วินาทีและการทดสอบ Stroop color-word, Stroop word, และ Stroop color ผลการวิจัยพบว่าการเล่นแบดมินตันช่วยพัฒนาทักษะการประสานมือและตา และสมองส่วนหน้าในด้านสมาธิของเด็กสมาธิสั้นได้ดีขึ้น โดยผลการโยนรับลูกบอลเข้าผนังหลังจากการเล่นแบดมินตันเพิ่มขึ้นจาก 11.

การศึกษาประสิทธิภาพของการเล่นแบดมินตันกับการพัฒนาสมองส่วนหน้า และทักษะการประสานมือและ�

การศึกษาประสิทธิภาพของการเล่นแบดมินตันกับการพัฒนาสมองส่วนหน้า และทักษะการประสานมือและตาในเด็กสมาธิสั้น โรงพยาบาลสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์

วิจารณ์และสรุปผล

ปัจจัยอายุและเพศ ไม่มีผลต่อความสามารถ ในการเล่นแบดมินตัน
ทักษะการ ประสานมือและตาในเด็กที่มีภาวะสมาธิสั้นดีขึ้น
การพัฒนาของสมองส่วนหน้าในด้านสมาธิดีขึ้น

การฝึกเล่นกีฬาแบดมินตัน

จับคู่ตีโต้ข้ามตาข่าย
จัดการแข่งขันแบบพบกันหมด เพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานวิจัยแสดงความสามารถที่ได้ผ่านการฝึกฝน
ผู้เข้าร่วมวิจัยฝึกตีโต้กับผู้ฝึกสอน
แบบฝึกทักษะการเคลื่อนที่โดยการวิ่งในรูปแบบต่างๆ
แบบฝึกทักษะการมองการใช้มือ ระบบการรับรู้กล้ามเนื้อ และการทรงท่า
ฝึกวิ่งพร้อมกับตีแบดมินตัน
คนอื่นๆ ที่เหลือจะเป็นผู้ที่คอยเก็บและเรียงลูกแบดมินตันเป็นแถวส่งให้ผู้ฝึกสอนเพื่อรอเวลาตนเองตี
ฝึกการใช้แบคแฮนด์โฟร์แฮนด์ในท่าต่างๆ โดยเพิ่มการตีโต้ให้เร็วขึ้น
ฝึกทักษะการจับไม้แบดมินตันตีลม
ผู้ฝึกสอนปล่อยลูกแบดมินตันให้ผู้เข้าร่วมวิจัยยืนตีลูกแบดมินตันกลับมา หาผู้ฝึกสอน
ปาลูกแบดมินตันใส่ตะกร้า
เดาะลูกด้วยไม้แบดมินตันต่อเนื่องกันจำนวน 10 ครั้ง
เรียนรู้วิธีการใช้ไม้แบดมินตัน
แบบฝึกทักษะการใช้อุปกรณ์ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้มือและการมอง
กายบริหารเบื้องต้น
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกีฬาแบดมินตัน และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเล่นแบดมินตัน

ผลการศึกษา

ประสิทธิภาพของการเล่นแบดมินตันกับการพัฒนาทักษะการประสานมือและตา
ผลการโยน–รับลูกบอลเข้าผนังในเวลา 30 วินาที

หลังเล่นแบดมินตันเท่ากับ 14.34+3.05 ครั้ง

ก่อนเล่นแบดมินตันเท่ากับ 11.40+2.39 ครั้ง

ประสิทธิภาพของการเล่นกีฬาแบดมินตันกับการพัฒนาสมองส่วนหน้า
ผลการทดสอบ Stroopcolor–word

หลังเล่นแบดมินตันเท่ากับ 19.56+3.13 วินาที

ก่อนเล่นแบดมินตันเท่ากับ 17.69+3.25 วินาที

ผลการทดสอบ Stroop color

หลังเล่นแบดมินตันเท่ากับ 22.03+2.68 วินาที

ก่อนเล่นแบดมินตันเท่ากับ 20.28+3.16 วินาที

ผลการทดสอบ Stroop word

หลังเล่นแบดมินตันเท่ากับ 20.84+2.52 วินาที

ก่อนเล่นแบดมินตันเท่ากับ 17.81+3.03 วินาที

ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมบบำบัดมาก่อนหน้านี
กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดรับประทานยา methylphenidate
ผู้ป่วยที่เข้าหลักเกณฑ์ในการศึกษาจำนวน 32 คน

ผู้หญิง 8 คน (25%)

ผู้ชาย 24 คน (75%)

การทดสอบทักษะการประสานมือและตา

การโยนลูกเข้าผนัง
จับเวลา 30 วินาทีและบันทึกจำนวนครั้งที่รับได้
โยนลูกบอลเข้าผนังด้วยมือที่ถนัดและให้รับด้วยมือที่ไม่ถนัด
ผู้เข้าร่วมวิจัยยืนห่างจากผนังเรียบเป็นระยะทาง 2 เมตร

การทดสอบการทำงานของสมองส่วนหน้า

บันทึกข้อมูลโดยวัดเวลาจากการอ่านบัตรคำอย่างถูกต้องจำนวน 25 บัตรคำออกมาเป็นหน่วยเวลา (วินาที)
Stroopcolor–word
พิมพ์คำอ่านด้วยสีที่ไม่ตรงกัน
Stroop color
พิมพ์คำอ่านด้วยสีที่ตรงกัน
Stroop word
พิมพ์คำอ่านด้วยสีดำทั้งหมด

วิธีการวิจัย

การวิจัยในรูปแบบ Pre–test และ Post–test
ประเมินทักษะการประสานมือและตาโดยการโยนรับลูกเข้าผนังก่อนและหลังการฝึกกีฬาแบดมินตัน

เด็กที่มีภาวะสมาธิสั้นและรักษาในโรงพยาบาลสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 32 คน

เกณฑ์การคัดอาสาสมัครเข้าร่วมศึกษา

ได้รับการยินยอมในการเข้าร่วมวิจัยจากผู้ปกครอง

อ่านคำอ่านเกี่ยวกับสีได้

รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ

รับยาปรับสมาธิสั้นจนอยู่ในระดับที่ควบคุมอาการได้

ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคสมาธิสั้น

อายุ 7-12 ปี

ช่วงเวลา13.00–14.00

1 ชั่วโมงต่อวัน

แบบทดสอบประเมินการทำงานของสมองสมองส่วนหน้าโดยใช้ Strooptest
การศึกษาเชิงพรรณนาแบบศึกษาที่จุดเวลาใด เวลาหนึ่ง