Kategorier: Alla - นักศึกษา - พฤติกรรม - สุขภาพ - การศึกษา

av ฐัติมา จีนราม för 4 årar sedan

746

พฤติกรรมการกินอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปีการศึกษา 2563

การศึกษานี้มุ่งเน้นสำรวจพฤติกรรมการกินอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ในปีการศึกษา 2563 โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมความตระหนักในด้านสุขภาพผ่านการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ งานวิจัยนี้ตั้งคำถามให้ผู้เข้าร่วมสำรวจแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกินอาหารคลีน ซึ่งหมายถึงอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนใน 5 หมู่และผ่านกระบวนการปรุงแต่งน้อยที่สุด การศึกษานี้สำคัญเนื่องจากอาหารคลีนได้รับความนิยมในกลุ่มคนที่รักสุขภาพและช่วยลดความเสี่ยงจากโรคต่างๆ ขอบเขตการวิจัยครอบคลุมประชากรนักศึกษาจำนวน 100 คน โดยพิจารณาตัวแปรด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหารและปัจจัยด้านสุขภาพ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องระบุว่าอาหารคลีนเป็นอาหารที่เน้นการรักษารสชาติดั้งเดิมของวัตถุดิบและการคงไว้ซึ่งคุณประโยชน์ทางโภชนาการ การวิจัยนี้จะนำข้อมูลไปเผยแพร่ในรูปแบบสื่อเพื่อการศึกษาและรณรงค์ให้นักศึกษาหันมาดูแลสุขภาพผ่านการกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น

พฤติกรรมการกินอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปีการศึกษา 2563

พฤติกรรมการกินอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปีการศึกษา 2563

Use this mind map structure to discover unseen connections, generate new ideas and reach a better understanding of any given subject.

นิยามศัพท์

อาหารคลีน
อาหารที่มีสารอาหารครบ 5 หมู่และผ่านกระบวนการปรุงแต่งน้อยที่สุด เพื่อคงไว้ซึ่งคุณประโยชน์ทางโภชนาการ
สารอาหาร
สารเคมีที่มีส่วนประกอบในอาหารซึ่งมีความสำคัญต่อร่างกายผู้บริโภคโดยช่วยให้การทำหน้าที่ต่างๆ ของร่างกาย
อาหาร
คือ สิ่งใดๆที่มนุษย์รับเข้าสู่ร่างกายแล้วก็ให้เกิดประโยชน์ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ได้ทราบถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปีการศึกษา 2563
ส่งเสริมให้ผู้บริโภคดูแลสุขภาพรวมถึงการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเพื่อลดอัตราการเกิดโรคต่างๆ
สามารถนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในการวางแผนด้านการตลาด
รวมถึงเป็นประโยชน์ในการค้นคว้า และวิจัยเชิงวิชาการในโอกาสต่อไป
ของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน

ขอบเขตการวิจัย

In the conclusion you should have a brief summary of your key points.

ขอบเขตด้านตัวแปร
ตัวแปรตาม

คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร

ตัวแปรต้น

คือ ปัจจัยด้านสุขภาพ

ขอบเขตด้านประชากร
กำหนดประชากรเป็นนักศึกษาในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ทุกชั้นปี เป็นจำนวน 100 คน

ความสำคัญและที่มาของปัญหาการ

ที่จะศึกษาพฤติกรรมการกินอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปีการศึกษา 2563
จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูล ก่อให้เกิดความสนใจแก่ผู้วิจัย
ทำให้คงเหลือคุณประโยชน์ทางโภชนาการมากและช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรค
เนื่องจากอาหารคลีนเป็นอาหารที่ผ่านกระบวนการปรุงแต่งน้อย
อาหารคลีนเป็นอาหารที่ได้รับการตอบรับจากกลุ่มคนที่รักสุขภาพ

ระเบียบวิธีวิจัย

การเก็บรวบรวมข้อมูล
พิมพ์แบบสำรวจเพื่อเก็บข้อมูล
ร่างแบบสำรวจ
ศึกษาเอกสาร ข้อมูลหนังสือเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

เพื่อที่จะนำมาออกแบบสอบถามในการวิจัยครั้งนี้เพื่อที่จะได้ครอบคลุมกับเนื้อหาและกรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เป็นแบบสอบถามซึ่งกลุ่มตัวอย่างจะเป็นผู้กรอกแบบสอบถาม

ส่วนที่2 แบบสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปได้แก่ เพศ ชั้นปีการศึกษา โดยให้ผู้ตอบแบบสอบถาม ตอบรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับตนเอง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
นักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปีการศึกษา 2563 จำนวน 100 คน ทั้งเพศชายและเพศหญิง

สมมติฐานการวิจัย

นักศึกษาทุกชั้นปีมีความสนใจการกินอาหารคลีน

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายที่ควรจะได้รับต่อวัน
อาหารแบบคลีนไม่ใช่การเน้นทานผักเยอะๆ แต่เป็นการทานอาหารทุกหมู่ในสัดส่วนที่เหมาะสม
เน้นการรับประทานอาหารที่มาจากธรรมชาติที่ไม่ผ่านการแปรรูป คงรสชาติดั้งเดิมของวัตถุดิบที่นำมาปรุงแต่ง
หลักของอาหารคลีน คือการกินอาหารที่ผ่านการแปรรูปและการปรุงแต่งรสชาติของอาหารน้อยที่สุด
อาหารคลีนเป็นอาหารเพื่อสุขภาพอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นอาหารที่ผู้คนกำลังนิยมรับประทานอย่างมาก

คำถามการวิจัย

The key points are the arguments which will support your thesis. These can be agreeing arguments or disagreeing arguments too, in each case they need to reflect on the main idea.

ผู้กรอกแบบสำรวจมีความเห็นต่อการกินอาหารคลีนว่าอาหารคลีนนั้นดีหรือไม่

วัตถุประสงค์

เพื่อรณรงค์ให้นักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มีความสนใจในการดูแลสุขภาพและมีการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น
เพื่อนำข้อมูลเชิงสำรวจที่ได้ไปเผยแพร่ในรูปแบบสื่อเพื่อการศึกษาในรูปแบบต่างๆ
เพื่อศึกษาและสำรวจพฤติกรรมการกินอาหารคลีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปีการศึกษา 2563