สังความความรู้
5.กระบวนการจัดการความรู้
(Processes of Knowledge)
กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กรซึ่งมีดังนี้
7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ และนำความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ท าได้หลายวิธีการซึ่งจะแบ่งได้สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge อาจจะจัดทำเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ
5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดยการใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือกว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะพิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร
Main topic
4.ความรู้ Knowledge
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งคำทั้ง 3 คำมีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศและความรู้ไว้ดังนี้
3.ความรู้
ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการโดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และ
สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จำกัดในอนาคต
ประเภทรูปแบบของความรู้
2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎี คู่มือต่างๆ ในบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจ
ในสิ่งต่างๆ
2.สารสนเทศ
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถ
นำมาใช้ประโยชน์ได้โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสารและวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ วีดิทัศน์แผ่นเสียง เทปโทรทัศน์ข้อมูลจากฐานข้อมูลและจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมถึงวิชาความรู้ซึ่งคือข้อเท็จจริงที่มีการค้นคว้าได้ และจัดเข้าเป็นระเบียบแล้วสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
1.ข้อมูล
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 35-37) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ หรือเกี่ยวกับ คน สิ่งของ หรือ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งข้อมูลสามารถแบ่งเป็น 5 ประเภท ดังนี้
5) ข้อมูลเสียง
4) ข้อมูลภาพลักษณ์
3) ข้อมูลกราฟิก
2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ
1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน
3.ลักษณะสังคมแห่งชาติ
3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่มดำเนินการ
(Key Institutions)
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.1 ไม่จำากัดขนาดและสถานที่ตั้ง
2.ยุคของสังคมความรู้
สังคมความรู้ยุค 2
4.มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
3.มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
2.มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
1.มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
สังคมความรู้ยุค 1
5.Knowledge Dissemination
การกระจายความรู้
4.Knowledge Optimization
การนำความรู้ ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ระเบียบต่างๆ
3.Knowledge Valuation
การตีค่า ตีความรู้ว่ามีการใช้ความรู้นั้นมีความคุ้มค่าหรือไม่
2.Knowledge Validation
การประเมินความถูกต้องของความรู้
1.Knowledge Access
การเข้าถึงความรู้ทาง Internet
1.นิยามสังคมความรู้
เป็นกระบวนการที่ทำให้คนในสังคมเกิดการเรียนรู้ผ่านสื่อ
จนสามารถสร้างความรู้ ทักษะ มีระบบการจัดการความรู้
มีการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้
ทำให้เกิดพลังสร้างสรรค์และใช้ความรู้ในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา
และพัฒนาอย่างเหมาะสมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง