Категории: Все - สถิติ - ความสัมพันธ์ - การวิจัย - การวิเคราะห์

по Roman Wannaborworn 5 лет назад

304

🍁 สถิติพื้นฐานเพื่่อการวิจัย 🍁

การใช้สถิติเพื่อการวิจัยมีวัตถุประสงค์หลายประการ เช่น การพรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา การศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่ม การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และการประมาณค่าหรือการพยากรณ์ ข้อพิจารณาสำคัญในการใช้สถิติคือการทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสม การนำเสนอผลและการตีความหมาย การรู้หลักเบื้องต้นของการใช้สถิติและลักษณะของข้อมูล การกำหนดสถานภาพของตัวแปรว่าเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตาม หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติเน้นการหลีกเลี่ยงการนำเสนอที่ซ้ำซาก การเสนอในรูปแบบที่มาตรฐานและการตีความหมาย สถิติคือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมซึ่งมีประโยชน์ต่อการบริหารประเทศ ตัวแปรแบ่งเป็นตัวแปรตามที่เปลี่ยนแปลงตามตัวแปรต้น สำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพมักใช้ข้อมูลจากแบบสอบถามและต้องลงรหัสข้อมูล ตัวแปรเชิงปริมาณใช้กับข้อมูลที่มีระดับการวัดแบบช่วงหรืออัตราส่วน สถิติพรรณนาที่ควรนำมาใช้กับตัวแปรเชิงปริมาณมี 4 ตัวคือ ค่าสูงสุด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย และค่าต่ำสุด

🍁 สถิติพื้นฐานเพื่่อการวิจัย 🍁

🍁 สถิติพื้นฐานเพื่่อการวิจัย 🍁

Use this mind map structure to discover unseen connections, generate new ideas and reach a better understanding of any given subject.

ประเภทของข้อมูล

The key points are the arguments which will support your thesis. These can be agreeing arguments or disagreeing arguments too, in each case they need to reflect on the main idea.

ประเภทของข้อมูลทางการวิจัย
อัตราส่วน (Ratio Scale)

ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำ ไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว

ข้อมูลประเภทนี้เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้

อันตรภาค (Interval Scale)

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิตชั้นสูงทุกตัว

เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้แต่ไม่มีศูนย์แท้

เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่ วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วง

เรียงอันดับ (Ordinal Scale)

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดยเรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด

นามบัญญัติ (Nominal Scale)

📌จะนำไป บวกลบ คูณ หาร กันไม่ได้ในทางสถิติ เพราะ ไม่มีความหมาย

ใช้สถิติง่ายๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วนร้อยละ

เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูลหรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม

สถิติแต่ละตัวมีข้อจำกัดในการนำไปวิเคราะห์ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภทของข้อมูล

คำจำกัดความของ สถิติ (Statistics)

In the conclusion you should have a brief summary of your key points.

ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าข้อมูลทางสถิติ(Statistical data)
จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก
อัตราการเกิดของเด็กทารก
จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน
มาจากภาษาเยอรมันว่า Statistics
หมายถึง ข้อมูลหรือสารสนเทศ ซึ่งจะอำนวยประโยชน์ต่อการบริหารประเทศในด้านต่างๆ
มีรากศัพท์มาจาก Stat

ตัวแปร

การเสนอผลสถิติพรรณนาในรายงานวิจัย
ไม่ใส่คำที่ไม่ใช่สาระ
ระบุหมายเลขและชื่อตาราง
เสนอในรูปตาราง
สถิติพรรณนำสำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพ
สถิติพรรณนาที่ควรนำมาใช้กับตัวแปรเชิงปริมาณ เพื่อมาตรฐานใน การรายงานผลการวิจัยมี 4 ตัว

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Derivation)

ค่าเฉลี่ย (Mean)

ค่าสูงสุด(Maximum)

ค่าต่ำสุด (Minimum)

สถิติพรรณนาสำาหรับตัวแปรเชิงปริมาณ
ใช้ได้กับข้อมูลประเภทที่มีระดับการวัดแบบช่วง (Interval Scale) และที่มีการวัดแบบอัตราส่วน (Ratio Scale)
ค่าสถิติเชิงพรรณนาที่สำคัญจากการวิเคราะห์สถิติ

อัตราส่วนที่ถูกต้อง (Valid Percent) เป็นการคำนวณที่ไม่ น าเอาค่าที่ไม่ต้องการหรือขาดหาย (Missing) มาใช้ในการ วิเคราะห

อัตราส่วนร้อยปกติ (Percent) เป็นการนำข้อมูลทุกกรณีมาวิเคราะห์ไม่ว่าข้อมูลจะขาดหายไป

ค่าความถี่(Frequency)

ต้องมีการลงรหัสข้อมูลให้เป็นตัวเลข (Coding) ถ้ารหัสใดไม่ต้องการวิเคราะห์ให้เป็น Missing Value(s)
ส่วนใหญ่ใช้กับข้อมูลที่เก็บจากแบบสอบถาม
สถิติพรรณนากับการวิจัย
จากกลุ่ม/หน่วยวิเคราะห์ที่เหมาะสมหรือไม่ ทั้งในด้านจำนวนและในด้านคุณสมบัติ
ช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้นว่าการวิจัยได้เก็บข้อมูล
เหมาะสำหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจำให้เห็นเป็นรูปธรรม
ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งศึกษา (ประชากรหรือกลุ่มหน่วยวิเคราะห์)
ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด
ตัวแปรอัตราส่วน (Ratio)
ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval)
ตัวแปรอันดับ (Ordinal)
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด (Norminal)
ตัวแปรควบคุม - ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลอง อาจทำให้การทดลอง คลาดเคลื่อน จึงต้องควบคุมเอาไว้
ตัวแปรตาม (Dependent Variables) - ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือผลของตัวแปรต้น
ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) - ตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐานเป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

4.ตีความหมาย
3.แปรผลค่าทางสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง
2.เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือที่วงวิชาการยอมรับ
1.หลีกเลี่ยงการนำเสนอที่ซ้ำซาก

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

6.รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล
5.รู้หลักเบื้องต้นของการใช้สถิติ
4.สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตาม
3.รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด (Level of Measurement)
2.ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
1.ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

4.ศึกษาการประมาณค่าหรือการพยากรณ์
3.ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
2. ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
1. พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

ประเภทของสถิติ

Inferential Statistics

State the main idea of the essay. This will be your thesis statement.

สถิตไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics)

สถิติที่อยู่ในประเภทนี้

ฯลฯ

Sign test

Median Test

ไคสแควร์

เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น

สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statitics )

การเขียนแสดงค่าสถิติใช้ภาษาอังกฤษเป็นสัญลักษณ์

วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร
Descriptive Statistics

In the introduction you should state the ideas what you want to defend along the essay.

สถิติเชิงพรรณนา

ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลนั้น มีอยู่สองลักษณะ

การใช้แผนภาพ

การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข

ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร แต่อย่างใด

การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่

เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูล