Categorias: Todos - จรรยาบรรณ - การวิจัย - สมมุติฐาน - ตัวแปร

por ทิฆัมพร เพอสะและ 5 anos atrás

272

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research)

การวิจัยเป็นกระบวนการที่ใช้ในการค้นคว้าหาความรู้และความจริง โดยมีการแบ่งประเภทต่าง ๆ ตามลักษณะของวิชา เวลาที่ใช้ เป้าหมายหลัก และการจัดการการกระทำ ตัวแปรและสมมุติฐานเป็นส่วนสำคัญในการวิจัย โดยสมมุติฐานต้องมีทิศทางที่ชัดเจนและมาจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่น การศึกษาเอกสาร การสนทนากับผู้เชี่ยวชาญ และการสังเกตพฤติกรรม การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลเป็นขั้นตอนสำคัญที่ช่วยให้การวิจัยมีความแม่นยำและครอบคลุมทุกด้าน นักวิจัยต้องมีความรู้ในสาขาวิชาที่ทำวิจัยและปฏิบัติตามจรรยาบรรณของนักวิจัยอย่างเคร่งครัด การวิจัยยังต้องมีการกำหนดจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนและใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่น่าเชื่อถือ ทั้งนี้ยังต้องเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่นเพื่อให้การวิจัยเป็นไปอย่างมีมาตรฐานและคุณภาพ

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research)

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research)

ตัวแปลและสมมุติฐาน

ลักษณะของสมมุติฐานที่ดี
3. ตอบคำถามเพียงข้อเดียว หรือประเด็นเดียว และอื่นๆ
2.อธิบายหรือตอบคำถามได้ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน
1.สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิวัย
แหล่งที่มาของสมมุติฐาน
5. การสังเกตพฤติรรม หรือสังเกตสัมพันธ์ของตัวแปรอื่นๆ
4. การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวับปัญหาที่ศึกษา ร่วมกับบุคคลอื่น
3. ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย
2. การสนทนากับผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ
1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของสมมุติฐาน
สมมุติฐานทางวิจัยมี 2แบบ คือสมมุติฐานแบบมีทิศทางและสมมุติฐานแบบไม่มีทิศทาง
สมมุติฐาน
เป็นคำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตูสมผลต่อปัญหาที่ศึกษา
การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูล(ข้อเท็จจริง)
การหาข้อมูล คือ การหาข้อเท็จจริงของปัญหาการวิจัย
การนิยามตัวแปร มี2การนิยาม คือการนิยามลักษณะของการบอกองค์ประกอบและนิยามในลักษณะการปฎิบัติการ
ลักษณะและชนิดของตัวแปร
ชนิดของตัวแปร มี4 ตัวแปร คือ 1.ตัวแปรอิสระ 2.ตัวแปรตาม 3.ตัวแปรแทรกซ้อน หรือตัวแปรเกิน 4.ตัวแปรสอดแทรก
ลักษณะของตัวแปร มี2ตัวแปร คือตัวแปรรูปธรรมและตัวแปรนามธรรม

Subtopic

ความหมายของตัวแปร คือ คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่างๆที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาหาความหาความจริง

ประเภทของการวิจัย

7. จำแนกตามการจัดการกระทำ
6. จำแนกประเภทารวิจัยตามเป้าหมายหลักการของวิจัย
5.จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการวิจัย
4. จำแนตามลักษณะของวิชา(ศาสตร์)
3. จำแนกตามระเบียบวิจัย
2.จำแนกตามลักษณะ
1. จำแนกตามประโยนช์ที่ได้รับ

ธรรมชาติของการวิจัย

10. การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย
9. การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย
8. การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่
7. การวิจัยมีเหตุผล
6. การวิจัยเป็นการแก้ไขปัญหา
5. การวิจัยมีความเชือมั่น
4. การวิจัยมีความเที่ยงตรง
3. การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
2. การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ
1. การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์

คุณลักษณะของการวิจัย

การวิจัยเป็นวิธีหนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ความจริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบและขั้ยตอนอย่างชัดเจน และมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของวิจัยอย่างชัดเจน

จรรยาบรรณของนักวิจัย

และอื่นๆที่ควรพึงปฎิบัติ
นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย
นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจิย

การเขียนคำถามวิจัย

ข้อความที่เป็นประโยค ซึ่งแสดงให้ห็นสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการค้นหาคำตอบ คำถามวิจัย และประเด็นวิจัย มีความคล้ายคลึงกัน

ขั้นตอนในการวิจัย

7.ขั้้นดำเนินการรวบรวมข้อมูล
6.การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ก่อนที่จะดำเนินการรวบรวมข้อมูล
5.การเขียนเค้าโครงการวิจัย
4.การกำหนดสมมุติฐาน
3.การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยศึกษาสาระความรู้ แนวคิด และทฤษฎี
2.การกำหนดขอบเขตของปัญหา
1.เลือกหัวข้อปัญหา

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

มีจุดหมายเพื่ออธิบาย พยากรณ์ หรือควบคุมปรากฏก่ารโดยใช้วิธีทางสถิติเพื่อให้เกิดผลสรุปที่ถูกต้อง

นิยามของการวิจัย (Meaning of Research)

เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากการอคติส่วนตัวและค้นคว้าข้อเท็จจริง

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

3. การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล
2. การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฎี
1.เป้าหมายของการวิจัย คือมุ่งหมายหาคำตอบเพื่อนำมาแก้ปัญหา