Categorias: Todos - สารสนเทศ - การเรียนรู้ - ความรู้ - สังคม

por Nuttakul Pimsarn 6 anos atrás

405

61102653

สังคมแห่งการเรียนรู้เป็นสังคมที่ความรู้และการศึกษาเป็นหัวใจสำคัญ บุคคลและชุมชนมีบทบาทร่วมกันในการพัฒนาและแบ่งปันความรู้ สถาบันในพื้นที่เป็นตัวหลักในการดำเนินการและมีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางในการจัดกิจกรรมต่างๆ ทุกคนในสังคมนี้เป็นทั้งครูและผู้เรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลักที่ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับทุกคน ไม่ว่าจะเป็นที่ไหนหรือขนาดของพื้นที่ สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและมีบทบาทสำคัญในการสร้างความรู้และการเปลี่ยนแปลง สังคมนี้ให้โอกาสแก่ประชาชนในการพัฒนาทักษะและความรู้ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการรวมตัวและการทำงานร่วมกันอย่างยั่งยืนผ่านเครือข่ายต่างๆ

61102653

สังคมความรู้ (Knoeledge Society)

สังคมความรู้

Knowledge Society



#Knowledge Broker : นายหน้าความรู้ ทำหน้าที่ต่อรองระหว่างผู้ใช้ความรู้(งานวิจัยจากงานประจำ อาจเป็นผู้บริหาร)กับผู้สร้างความรู้จากงานประจำ(อาจเป็นผู้ปฏิบัติตัวเล็กๆที่อยู่หน้างานแต่นั่งทับข้อมูลอยู่เป็นจำนวนมาก) #Knowledge Management ช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายได้ การจัดการองค์ความรู้ ก็เปรียบเหมือนการสร้างเครื่องจักรเพื่อมาช่วยในการผลิตสินค้า กล่าวคือ การจัดการความรู้จะช่วยให้องค์กรหรือบริษัท สามารถบรรลุเป้าหมายได้ง่ายขึ้น คืองานบรรลุเป้าหมาย บรรลุเป้าหมายในพัฒนาคน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กร บรรลุเป้าหมายในเรื่องของความสามัคคีในหมู่คณะของการทำงาน #ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือ การคำนวณารสนเทศ #สารสนเทศ(information)หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความ อย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เช่น ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมหรือสัญญาณระบบต่างๆ การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบดาวเทียม การจองตั๋วเครื่องบิน การกดเงินจาก ATM เป็นต้น

5.กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

นายหน้าความรู้ ทำหน้าที่ต่อรองระหว่างผู้ใช้ความรู้(งานวิจัยจากงานประจำ อาจเป็นผู้บริหาร)กับผู้สร้างความรู้จากงานประจำ(อาจเป็นผู้ปฏิบัติตัวเล็กๆที่อยู่หน้างานแต่นั่งทับข้อมูลอยู่เป็นจำนวนมาก)

การเรียนรู้ : ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่นการเรียนรู้จากองค์ความรู้ การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ
การจัดการความรู้ในองค์การแบ่งปันแลกความรู้
Tacit Knowledge

จัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพแลพนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้

Explicit Knowledge

เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่างๆ

ฐานความรู้

เอกสาร

การเข้าถึงความรู้ : ทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก
การประมวลและกลั่นกรองความรู้ : การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ : เป็นการวางโครงสร้าความรู้
การสร้างและแสวงหาความรู้ : การสร้างความรู้ใหม่
การบ่งชี้ความรู้ : เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

4.ความรู้(Knowledge)

4.2 ความหมายของความรู้ (Definition of Knowledge) : ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง รวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการโดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทฟส ที่สะสมในอดีต
ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)

Explicit Knowledge : ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ เช่น ฐานข้อมูล

4.ความรู้ใหม่ หรือความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน

3.ความรู้ด้านวิชาการ

2.ความรู้ด้านภาษา

1.ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา

Tacit Knowledge : ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแจ่ละบุคคล ความเชียวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคล เช่น ทักษะในการทำงาน

4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ "ความรู้"
4.1.2 ความหมายของสารสนเทศ (Information) : ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ บันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ วารสาร และววัสดุไม่ตีพิมพ์ ได้แก่สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ รวมถึงวิชาความรู้ ซึ่งคือข้อเท็จจริงที่มีการค้นคว้าได้หลักฐานหรือเหตุผลชัดเจน
4.1.1 ความหมายของข้อมูล (Data) : กลุ่มสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์

3.ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียนรู้
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง(Core Groups)เพิ่อรวมตัวกันจีดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

2.ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era)

2.2 สังคมความรู้ยุคที่2 : เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชากรมีบทบาทในการร่วมเป็นเจ้าของ นักวิชาการมีบทบาทเป็น (Knowledge Broker)
มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
2.1 สังคมความรู้ยุคที่1 : เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน นักวิชาการมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้ มีการพัฒนาความรู้(Knowledge Management)
Knowledge Dissemination : การกระจายความรู้
Knowledge Optimization :การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้
Knowledge Valuation : การตีค่า การตีความ

ไม่สร้างความยุติธรรมและศักดิ์ศรีมนุษย์

ขัดกับความคิด ความเชื่อหรือวัฒนธรรม

ปฏิบัติจริงได้ยาก

ใช้สำหรับสิ่งทีไม่จำเป็น

ความไม่คุ้มค่า หรือราคาแพงเกินกว่าผลประโยชน์

Knowledge Validation : การประเมิณความถูกต้องของความรู้
Knowledge Access : การเข้าถึงความรู้ ได้แก่ การหาความรู้ทาง internet

1.ความหมายของสังคมความรู้

อีกความหมายหนึ่งเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ
หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือค่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง