Kategorier: Alle - จรรยาบรรณ - วิจัย - สมมุติฐาน - ข้อมูล

av Ulaiphon Yurata 5 år siden

296

Tree organigram

การวิจัยเป็นกระบวนการที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจนเพื่อแสวงหาความรู้และความจริง โดยมีเป้าหมายหลักในการหาคำตอบเพื่อแก้ปัญหาและสรุปผลการวิจัย การวิจัยนั้นต้องมีการสร้างสมมุติฐานและขอบเขตปัญหาที่ชัดเจน รวมถึงการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องและเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ นักวิจัยต้องมีจรรยาบรรณที่ดี ซื่อตรง มีความรับผิดชอบ และเคารพสิทธิมนุษย์ อีกทั้งต้องมีอิสระทางความคิดและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น การวิจัยสามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภทตามเป้าหมายหลักของการวิจัย เช่น การวิจัยเพื่อการพยากรณ์ การวิจัยเพื่อการควบคุม และการวิจัยเพื่อการอธิบายปรากฏการณ์ การเขียนคำถามวิจัยมีหลายรูปแบบ เช่น คำถามเชิงพรรณนา คำถามเชิงความสัมพันธ์ และคำถามเชิงเปรียบเทียบ ทั้งหมดนี้เป็นกระบวนการที่ทำให้การวิจัยเป็นเครื่องมือสำคัญในการแสวงหาความรู้และพัฒนาสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ

Tree organigram

ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research

7.ขั้นตอนในการวิจัย

7) ขั้นด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
6) การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
5) การเขียนเค้าโครงการวิจัย
4) การก าหนดสมมุติฐาน
3) การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2) การก าหนดขอบเขตของปัญหา
1) เลือกหัวข้อปัญหา

9.การเขียนคำถามวิจัย

3. ประเด็นค าถามเชิงเปรียบเทียบ
2. ประเด็นค าถามเชิงความสัมพันธ
1. ประเด็นค าถามเชิงพรรณนา

10.จรรยาบรรณของนักวิจัย

9) นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
8) นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
7) นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
6) นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด
5) นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
4) นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
3) นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย
2) นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย
1) นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ

1. ความหมายของการวิจัย (Meaning of Research)

การวิจัย เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจาก อคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง

2. จุดมุ่งหมายของการวิจัย

2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล
2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2.1 เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา

3. แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่าในปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ(Principle Component of Nature) เป็นแนวคิดที่ ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปร อื่นๆ ที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ๆ
3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ในการเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปรผลที่แตกต่างกัน
3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ(Systematic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของ ตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน
3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ(Deterministic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ

8.ตัวแปรและสมมติฐาน

7. ลักษณะของสมมติฐานที่ดี 7.1 สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย จุดมุ่งหมายต้องการศึกษา 7.2 อธิบายหรือตอบค าถามได้ ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน 7.3 ตอบค าถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว 7.4 สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง 7.5 ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 7.6 เขียนด้วยถ้อยค าที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจนภายในตัวของมันเอง 7.7 สามารถตรวจสอบได 7.8 มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป 7.9 มีอ านาจในการพยากรณ
6. แหล่งที่มาของสมมติฐาน 6.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.2 การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ 6.3 ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย ที่ได้ท างานคลุกคลีกับเรื่องนั้นมาก่อน 6.4 การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ 6.5 การสังเกตพฤติกรรม สังเกตความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ
5. ประเภทของสมมติฐาน สมมติฐานแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 5.1 สมมติฐานทางวิจัย เทคนิคการเขียนอยู่ 2 แบบคือ 1) สมมติฐานแบบมีทิศทาง2) สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง
4. สมมติฐานลักษณะของสมมติฐาน สมมติฐานมีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ 1) เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป 2) สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติ
3. การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง 3.1 การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ปัญหาการวิจัยนั้น มักเป็นปัญหาที่ประกอบด้วยตัวแปรต่างๆสิ่งที่จะช่วยให้ผู้วิจัย และผู้อื่นเข้าใจปัญหานั้น ๆ ได้ระจ่างชัดเจนตรงนั้น 3.2 การนิยามตัวแปร การให้นิยามตัวแปร อาจใช้แนวทางใดทางหนึ่งหรืออาจใช้ทั้งสองแนวทางประกอบกันได้เนื่องจากลักษณะของตัวแปรมี 2 ลักษณะ คือลักษณะเป็นรูปธรรม และตัวแปรที่ลักษณะนามธรรม
2. ลักษณะและชนิดของตัวแปร 2.1 ลักษณะของตัวแปร ตัวแปรที่ศึกษาทางด้านธุรกิจส่วนใหญ่เป็นตัวแปรเกี่ยวกับคุณลักษณะและลักษณะ พฤติกรรมต่าง ๆ ของธุรกิจ   2.2 ชนิดของตัวแปร ประกอบด้วย 1)ตัวแปรอิสระ 2)ตัวแปรตาม 3)แปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเกิน และ 4) ตัวแปรสอดแทรก
1. ความหมายของตัวแปร ตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ เช่น คน วัตถุสิ่งของสัตว์ พืช ครอบครัว ขนาดธุรกิจ หรือหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นต้น

6. ประเภทของการวิจัย

6.7 ประเภทของการวิจัยจ าแนกตามการจัดกระท า จ าแนกเป็น 3 ลักษณะ
6.7.3 การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง
6.7.2 การวิจัยกึ่งทดลอง
6.7.1 การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น
6.6 จ าแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย จ าแนกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี
6.6.3 การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร
6.6.2 การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
6.6.1 การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร
6.5 จ าแนกตามเวลาที่ใช้ในการท าวิจัย จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังน
6.5.2 การวิจัยแบบต่อเนื่อง
6.5.1 การวิจัยแบบตัดขวางระยะสั้น
6.4 จ าแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์ จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
6.4.2 การวิจัยทางสังคมศาสตร
6.4.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร
6.3 จ าแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology) จำแนกได้2 ลักษณะ ดังนี้
6.3.2 การวิจัยเชิงบรรยาย
6.3.1การวิจัยเชิงประวัติศาสตร
6.2 จ าแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี
6.2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ
6.2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ
6.1 จ าแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย จ าแนกออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้
6.1.2 การวิจัยการน าไปใช้
6.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์

5. ธรรมชาติของการวิจัย

5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย หมายถึง การวิจัยที่มีประสิทธิภาพจะต้องดำเนินการโดยที่ผู้วิจัยที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการวิจัยที่จะสามารถด าเนินการวิจัยตั้งแต่การวิเคราะห์ปัญหา
5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย หมายถึง การวิจัยจะมีวิธีการในการด าเนินการวิจัยที่ให้ผู้วิจัยได้เลือกใช้อย่างหลายหลายวิธีการตามความเหมาะสมของปัญหาการวิจัย
5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ หมายถึง การวิจัยในแต่ละครั้งจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบค าถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น ๆ
5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา(ตัวแปรตาม) กับวิธีการแก้ปัญหา(ตัวแปรต้น)
5.6 การวิจัยมีเหตุผล หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนใน การดำเนินการทุกขั้นตอน
5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง การวิจัยต้องมีความคงเส้นคงวาใน การดำเนินการวิจัย
5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง การวิจัย ใด ๆ จำเป็นต้องมีความเที่ยงตรง
5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่มีจุดมุ่งหมายใน 4 ลักษณะ คือ บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
5.2 การวิจัยเป็นการด าเนินการที่เป็นระบบ หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการตามขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์
5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ หมายถึง การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาค าตอบที่ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง

4. คุณลักษณะของการวิจัย

การวิจัย เป็นวิธีการ ๆ หนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความ จริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน และมีการก าหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร ที่ผู้วิจัยจะใช้เป็นแนวทางในการแสวงหาค าตอบ เพื่อใช้อธิบาย พยากรณ์ และควบคุมปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ