พื้นฐานของการรวบรวมสถิติและข้อมูล
4. ค่าพิสัย (Range : R)
การหาการกระจายของข้อมูลโดยนำข้อมูลที่มีค่าสูงที่สุด ลบกับข้อมูลที่มีค่าต่ำที่สุด เพื่อให้ได้ค่าที่เป็นช่วงของการกระจาย ซึ่งสามารถบอกถึงความกว้างของข้อมูลชุดนั้นๆ สำหรับสูตรที่ใช้ในการหาพิสัยคือ
พิสัย (R) = Xmax – Xmin
พิสัย (R) = ค่าสูงสุด – ค่าต่ำสุด
3. ค่าฐานนิยม (Mode : Mo)
เป็นค่ากลางซึ่งจะนำมาใช้ในกรณีที่ข้อมูลมีการซ้ำกันมากๆจนผิดปกติ
2. ค่ามัธยฐาน (Median)
เป็นค่ากลางของข้อมูลที่ได้จากการพิจารณาตำแหน่งของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean)
เรียกกันย่อๆว่า ค่าเฉลี่ย เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ เป็นค่ากลาง
ทางสถิติค่าหนึ่ง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็นค่ากลางหรือเป็นตัวแทน
ของข้อมูลที่ดีที่สุด
หลักการการหาค่าเฉลี่ย ทำได้โดยนำค่าทั้งหมดที่มีรวมกัน
แล้วนำมาหารด้วย จำนวนของข้อมูล แบ่งเป็น
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบแจกแจงความถี่
-ข้อมูลแจกแจงความถี่ คือ ข้อมูลที่ให้มาเป็นช่วงไม่สามารถบอกได้ว่า
แต่ละตัวมีค่าเท่าไหร่
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ (ungrouped data) จะใช้กรณีที่มีข้อมูลไม่มากนักและเป็นข้อมูลที่มาจากตัวอย่าง
5. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D)
เป็นค่าวัดการกระจายที่สำคัญทางสถิติ เพราะเป็นค่าที่ใช้บอถึง
การกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าค่าพิสัยและค่าส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย
สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน เป็นสถิติที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์เพื่อ
ทดสอบสมมติฐานว่าเป็นจริงตามที่กำหนดไว้หรือไม่ ได้แก่
1.3 การพยากรณ์ (regression)
1.2 การหาความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป ได้แก่
การหาสมัประสิทธิ์ สหสัมพันธ์(correlation)
1.1 การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ได้แก่ t-test F-test และ ไคสแควร์(chi-square)
สถิตพิ้นฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เพื่อแสดงความหมายทั่วไปของข้อมูลและใช้เป็นพื้นฐานในการคำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป ซึ่งสถิติพื้นฐานได้แก่
1.3 การวัดการกระจาย ได้แก่
- ความแปรปรวน (Variance)
- ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
- พิสัย (Range)
1.2 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่
- ฐานนิยม (Mode)
- มัธยฐาน (Median)
- ค่าเฉลี่ย (Mean)
1.1 การแจกแจงความถี่ (frequency)