Kategorier: Alle - องค์กร - ความรู้ - เทคโนโลยี - การจัดการ

av ธนพร อินเสนี 6 år siden

135

สังคมความรู้(knowiedge Society)

สังคมความรู้ในศตวรรษที่ 21 มีการจัดการความรู้เป็นองค์ประกอบสำคัญ ซึ่งกระบวนการจัดการนี้ประกอบด้วยหลายขั้นตอนที่สำคัญ การบ่งชี้ความรู้ช่วยให้องค์กรสามารถกำหนดเป้าหมายและวิธีการที่จะบรรลุเป้าหมายได้ การสร้างและแสวงหาความรู้เป็นการนำความรู้ใหม่เข้ามาและกำจัดความรู้ที่ไม่ใช้งานแล้ว การจัดความรู้ให้เป็นระบบทำให้องค์กรสามารถเก็บและเรียกใช้งานความรู้ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง การประมวลและกลั่นกรองความรู้ช่วยให้เอกสารและข้อมูลมีมาตรฐานเดียวกัน การเข้าถึงความรู้ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ง่ายและสะดวกผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ในองค์กรสามารถทำได้หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นความรู้ที่เป็นเอกสารหรือระบบ รวมถึงการเรียนรู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของงานจะช่วยให้เกิดประสบการณ์ใหม่ๆ การจัดการความรู้ที่ดีจะช่วยพัฒนาศักยภาพของบุคคลและองค์กรในการดำรงชีพในสังคมความรู้ในยุคปัจจุบัน

สังคมความรู้(knowiedge Society)

สังคมความรู้(knowiedge Society)

 นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)


บทสรุป

ความรู้นับว่าเป็นสิ่งที่จ าเป็นในสังคมความรู้ ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการความรู้ได้ดี จะ ช่วยให้สามารถพัฒนาศักยภาพตนเอง ช่วยเหลือผู้อื่นในสังคมหรือองค์กรการเรียนรู้ได้ดี การสะสม ความรู้ถ่ายโอนความรู้สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคมจะช่วยสร้าง และพัฒนาบุคคลหรือองค์กรให้มีความรู้ ความสามารถ รวมถึงทักษะต่างๆ ในการด ารงชีพในสังคม ความรู้ในศตวรรษที่ 21

ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge) ประเภทของความรู้มีหลายลักษณะทั้งความรู้จากข้อเท็จจริง ความรู้จากประสบการณ์ ความรู้ที่ได้รับถ่ายทอดมาหรือความเชื่อ ความรู้ส่วนบุคคล (Individual knowledge) และความรู้ องค์กร (Organizational knowledge) จากลักษณะต่างๆ
สามารถแบ่งความรู้ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก

2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ

1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ

ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)
ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การท างาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ การกระท าต่างๆ
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสาร แผ่นพับ จุลสาร เอกสารจดหมายเหตุและวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ วีดิทัศน์แผ่นเสียง เทปโทรทัศน์ข้อมูลจากฐานข้อมูลและจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมถึงวิชา ความรู้ซึ่งคือข้อเท็จจริงที่มีการค้นคว้าได้หลักฐานหรือเหตุผลชัดเจน และจัดเข้าเป็นระเบียบแล้ว สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ความหมายของข้อมูล (Data)ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
5) ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือ เสียงพูด เสียงที่บันทึกไว้ฟัง
4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือ การสแกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์
3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก
2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำมา คำนวณได้
1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก ความรู้ที่มีบุคลากรท างานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)

มีองค์ประกอบดังนี้
7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การน าความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ และน าความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไป อย่างต่อเนื่อง
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ท าได้หลายวิธีการซึ่งจะแบ่งได้ สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge อาจจะจัดท าเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ หรือ Tacit Knowledge จัดท าเป็นระบบ
5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดย การใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ ภาษาเดียวกัน
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้ประกอบด้วยดังนี้

3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง 3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก 3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) 3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions) 3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน 3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ 3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง 3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา 3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้ 3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน 3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era)

สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค
สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนประกอบด้วยดังนี้

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม 2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม 3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม 4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกันประกอบด้วย

5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้

4) Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว

2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้

1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ