Kategorier: Alle - การเรียนรู้ - การกระจาย - ความรู้ - การจัดการ

av Wachiraya Kanchalee 5 år siden

757

สังคมความรู้ Knowlede Society

สังคมความรู้เป็นระบบที่มุ่งเน้นให้เกิดการสะสมและกระจายความรู้ในองค์กรและสังคมโดยรวม กระบวนการจัดการความรู้มีหลายขั้นตอน เช่น การบ่งชี้ความรู้ที่มีอยู่ การสร้างและแสวงหาความรู้ใหม่ การรักษาความรู้เก่า และการกำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว ในสังคมความรู้ยุคแรก พลังและอำนาจของความรู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาและการแข่งขันทางเศรษฐกิจ นักวิชาการและนักวิชาชีพมีหน้าที่ในการจัดการและพัฒนาความรู้ พวกเขาต้องมีความสามารถในการเข้าถึง ประเมิน ตีค่า และกระจายความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์สำคัญของการเรียนรู้ในสังคมความรู้คือการอธิบายลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ในแต่ละยุค อธิบายความหมายและประเภทของความรู้ รวมถึงกระบวนการจัดการความรู้ สังคมแห่งการเรียนรู้ไม่ได้จำกัดขนาดหรือสถานที่ตั้ง และให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับโอกาสในการพัฒนา

สังคมความรู้ Knowlede Society

สังคมความรู้ Knowlede Society

5. กระบวนการจัดการความรู้

กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้น ภายในองค์กรซึ่งมีดังนี้ 1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก ว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะ พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร 2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว และต่างๆอีกมากมาย
สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียงสมดุลบูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง
ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ 1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม 2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม 3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม 4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

2.ยุคของสังคมความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมี บทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมาก ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5ด้านดังนี้
5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความรู้
4) Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้
3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้มค่าหรือไม่
2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอก
1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1.อธิบายลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ในแต่ละยุคได้ 2.อธิบายความหมาย ประเภทของความรู้ได้ 3.อธิบายกระบวนการจัดการความรู้ได้

4.ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้
2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ
1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคล
ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจากประสบการณ์การทำงาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจและการกระทำต่างๆ

3.ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง 3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก 3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) 3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions) และอื่นๆอีกมากมาย

1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูงจาก ความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง