พื้นฐานของการรวบรวมสถิติและข้อมูล
ตัวแปร
ประเภทตัวแปรตามบทบาท
ตัวแปรตาม (Dependent Variables)
คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้นหรือผลของตัวแปรต้น
ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
คือตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน เป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา
ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด
4.ตัวแปรอัตราส่วน (Ratio)
3.ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval)
2.ตัวแปรอันดับ (Ordinal)
1.ตัวแปรกลุุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด (Norminal)
หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ
4.ตีความหมาย
ทำการตีตวามหมายผลที่ได้จาก การวิเคราะห์ให้เป็นไปตามหลักการหรือเกณฑ์ที่กำหนด
3.แปลผลค่าสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง
ทำการอ่านผลค่าสถิติ ต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
2.เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือที่วงวิชาการยอมรับ
ทำการเสนอที่ได้รูปแบบ มาตรฐานของแต่ละวิธีการที่ใช้กันในวงการวิจัย
1.หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก
โดยเสนอให้น้อยที่สุดแต่สิ่งที่เสนอต้องสื่อ ความหมายให้ได้มากที่สุดหรือครบถ้วน สมบูรณ์ในตัวของมันเอง
ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย
5.รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ
6.รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล
4.สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปร อิสระ หรือตัวแปรตาม
3.รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด (Level of Measurement)
2.ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
1.ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้
วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจัย
4.ศึกษาการประมาณค่าหรือการพยากรณ์
3.ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
2.ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
1.พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์
ประเภทของสถิติ
Inferential Statistics
สถิติไร้พารามิเตอร์(Nonparametric Statistics)
เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลง เบื้องต้น ทั้ง 3 ประการข้างต้น สถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น ไคสแควร์, Median Test, Sign test ฯลฯ
สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statistics )
- สถิติว่าด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวม มาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุป ลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช ้เช่น การประมาณค่าการทดสอบสมมติฐาน เป็นต้น
- ข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป (Interval Scale)
- มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ
- ประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน ใช้ t-test, Z-test, ANOVA, Regression ฯลฯ
- การเขียนแสดงค่าใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์
Descriptive Statistics
สถิติเชิงพรรณนา
• การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่
• ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร แต่อย่างใด
• ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลน้ัน มีอยู่สองลักษณะ คือ
- การใชต้วอักษรหรือตัวเลข
- การใช้แผนภาพ
ประเภทของข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ(Quantitative Data)
อัตราส่วน (RatioScale)
- ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หารได ้และมีศูนย์แท้ เช่น น้ำหนัก ความเร็ว ความกว้าง ความหนา พื้นที่ จำนวนเงิน อายุ ระยะทาง ซึ่งถ้ามีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มี
- ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว
อันตรภาค (IntervalScale)
- เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากันทุกช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภมูิ ระดับทัศนคติ ระดับความคิดเห็น
- สถิติทิ่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติชั้นสูงทุกตัว
ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data)
เรียงอันดับ (OrdinalScale)
- เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งของต่างๆ โดย เรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ จากสูงสุดไปหาต่ำสุด เช่น ลำดับที่ของการ สอบ ลำดับของการประกวดสิ่งตำ่งๆ หรือ ความนิยม ซึ่งจะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้เช่นกัน
- สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
นามบัญญัติ (NominalScale)
- เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูล หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่มๆ เช่น เพศ อาชีพ
- ใช้สถิติง่ายๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงตัวแทนของชื่อกลุ่มเท่านั้น จะนำ ไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ในทางสถิต ิเพราะ ไม่มีความหมาย
วิธีการทางสถิติ
4.Statistical interpretation
การตีความทางสถิติ : การตีความทางสถิติ : การยอมรับ / การปฏิเสธสมมติฐานทางสถิติ
3.Statistical analysis
การวิเคราะห์ทางสถิติ : การวิเคราะห์ข้อมูล การคำนวณทางสถิติ
2.Data presentation
การนำเสนอข้อมูล : การจัดกลุ่มข้อมูล & การประมวลผล : ตาราง / วิธีการประเมินผล / ข้อสรุป
1.Data collection
การรวบรวมข้อมูล : การทำความเข้าใจข้อมูล ประเภท เครื่องมือการรวบรวม วิธีการรวบรวม
สถิติ
หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการ เก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก สถิติในความหมายที่กล่าวมานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ข้อมูลทางสถิติ (Statistical data)
พื้นฐานของสถิติ
Inferential statistic
วิธีทางสถิติในการสรุปลัำษณะประชากรจาก ข้อมูลตัวอย่าง ด้วยทฤษฎีความน่าจะเป็นในการ ประมาณค่าสถิติจากตัวอย่างเพื่ออนุมานลักษณะ ประชากร (parameter)
Descriptive statistic
วิธีทางสถิติในการสรุปสิ่งที่ศึกษาจาก ข้อมูลที่รวบรวม (ขอบเขตจำกัดช่วงเวลา/ สถานที่)
Statistics
ศาสตร์ของการนำข้อมูลจากตัวอยา่งไปใช้ คาดคะเนประชากร
Statiscal data
ข้อมูลสรุปจากการวิเคราะหก์ล่มุข้อมูล เพื่อแสดงลักษณะกล่มุข้อมูล