Categories: All

by Nipaporn Chaisuwan 4 years ago

459

KINETICS

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของสารตั้งต้น ซึ่งสามารถกำหนดได้ผ่านกฎอัตราต่างๆ กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารตั้งต้นและการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร ในขณะที่กฎอัตราอินทิเกรตแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารและเวลา อันดับของปฏิกิริยาจะบ่งบอกถึงการเกิดปฏิกิริยาเป็นขั้นตอนเดียวหรือผ่านขั้นตอนย่อย และสามารถหาได้จากการทดลอง การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเริ่มต้นทำได้โดยการเปรียบเทียบกับความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่ต่างกัน ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ที่ค่าครึ่งชีวิตไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้นแสดงถึงอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คงที่ การทำความเข้าใจในกฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาจึงเป็นสิ่งสำคัญในการศึกษากลไกปฏิกิริยาเคมี

KINETICS

KINETICS

ทฤษฏีของจลนศาสตร์เคมี

การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการชนกันอย่างมีประสิทธิภาพของสารตั้งต้นทฤษฎีที่ใช้อธิบายการชนกันของโมเลกุลในการเกิดปฏิกิริยานี้มีอยู่2ทฤษฎ
พลังงานก่อกัมมันต์(Activation Energy)

ความร้อนของปฏิกิริยา (🔼Hrxn)

🔼Hrxn = Eproduct– Ereactant หรือ 🔼Hrxn = Ea,f– Ea,r

ปฏิกิริยาผันกลับได้(Reversible Reaction)

ในปฏิกิริยาทีผันกลับได้สารตังต้นเกิดปฏิกิริยาเดินหน้า (Forward Rxn) เป็ นผลิตภัณฑ์และผลิตภัณฑ์สามารถ เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ (Reverse Rxn) เป็นสารตังต้นได้

พลังงานก่อกัมมันต์หรือ พลังงานกระตุ้น (Ea) คือ พลังงานปริมาณน้อยทีสุดทีจําเป็นต่อการเกิดปฏิกิริยา

ถ้า Ea มีค่าน้อย ปฏิกิริยาเกิดได้ง่าย อัตราการ เกิดปฏิกิริยาจะสูง

Ea เป็นค่าคงที ขึนกับปฏิกิริยาเคมี

ทฤษฎีทรานซิชันสเตท (Transition-State Theory)

A + B⇆ [A…B]‡ ➡ C + D

[A…B]‡ คือ สารเชิงซ้อนกัมมันต์(activated complex) หรือ สารในสถานะทรานซิชัน (Transition State)

พลังงานของสารตังต้นในสภาวะ transition เทียบกับ พลังงานของสารตังต้นเท่ากับ พลังงานก่อกัมมันต์, Ea (activation energy)

Activated complex มีพลังงานสูงและอย่ในสภาวะไม่เสถียร

ทฤษฎีทรานซิชันสเตทคล้ายกับทฤษฎีการชนแต่สามารถ อธิบายปัจจัยพลังงานการชนได้ด

สารประกอบนีอย่ในสภาวะ ู Transition-State คือ สามารถ จัดเรียงตัวใหม่และเกิดเป็ นผลิตภัณฑ์หรือ สลายตัวและ กลับไปเป็ นสารตังต้น

สารตังต้นทีเกิดการชนกันอย่างมีประสิทธิภาพจะเกิดเป็ น สารประกอบใหม่ เรียกว่า สารเชิงซ้อนกัมมันต์(activated complex) ซึงมีพลังงานสูง ไม่เสถียรและมีอายุสัน

ทฤษฎีการชน (Collisiontheory)

ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา

เพิมอุณหภูมิ

เพิมจํานวนครังในการชนกันอย่างมีประสิทธิภาพ

เพิมพลังงานจลน์ของอนุภาค

เพิมจํานวนครังในการชน

เพิมความเร็วเฉลีย

เพิมความเข้มข้นของสารตังต้น

เพิมโอกาสทีอนุภาคชนกันอย่างมีประสิทธิภาพ

เพิมจํานวนอนุภาค

ปัจจัยพลังงานของการชน

พลังงานของอนุภาคขึนกับอุณหภูมิ

อุณหภูมิเพิมขึน อนุภาคจะมีพลังงานมากขึน และจํานวน อนุภาคทีมีพลังงานมากกว่า Ea จะเพิมขึน

การชนกันของสารตังต้นเพือให้เกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีพลังงาน อย่างน้อยเท่ากับพลังงานขันตําทีต้องใช้เพือทําลายพันธะเดิม(Ea)

ปัจจัยทิศทางการชน

ในการชนจะต้องมีทิศทาง(orientation)ทีเหมาะสมต่อการ ทําลายพันธะเดิมและสร้างพันธะใหม

ปัจจัยการชน

สารตังต้นทีชนกันไม่จําเป็นต้องเกิดปฏิกิริยาทุกครัง

ความถีของการชน (collision frequency)

อุณหภูมิสูง อนุภาคชนกันบ่อยขึน

อุณหภูมิสูง อนุภาคเคลือนทีได้เร็วขึน

ความเข้มข้น(ความดัน) ของสาร

ความเข้มข้นมาก อนุภาคชนกันบ่อย

ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึนได้ก็ต่อเมือ

การชนทีเกิดขึนมีพลังงานมากเพียงพอทีจะทําให้เกิดการ ทําลายพันธะเดิม

การชนมีทิศทางทีเหมาะสม

สารตังต้นเกิดการชน (collide) กัน

What is Kinetics?

ประเภทของปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาวิวิธพันธ์(heterogeneous reaction)

เป็นปฏิกิริยาที่เกิดระหว่างสารตั้งต้นที่มีวัฏภาคต่างกัน

หมายถึงปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นอยู่ต่างสภาวะกันหรือไม่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน

Ex.Hg (l) + ½ O2(g) →HgO (s) HgO (s) →Hg (l) + ½ O2(g)

ปฏิกิริยาเอกพันธุ์(Homogeneous reaction)

ปฏิกิริยาเอกพันธุ์(Homogeneous)

เป็นปฏิกิริยาที่เกิดในวัฏภาคเดียว

ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทุกตัวในระบบอยู่ในสภาวะเดียวกันหรือกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน

Ex.2NO2(g) + Br2(g) →2NOBr (g) H3O+(aq) + OH-(aq) →2H2O(l)

ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการทำปฏิกิริยาเคมีของสารต่างๆ ทั้งในด้านปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี, กลไกในการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสถานะกัมมันต์ และรวมไปถึงการสร้างสมการคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี

กฎอัตรา (Rate Law)

กฎอัตราอินทิเกรต (Integrated Rate Law)
ปฏิกิริยาอันดับสอง

A → P A + B → P A + B + C → P

อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึนกับความเข้มข้นของสารตังต้น โดยมีอันดับรวมของปฏิกิริยาเท่ากับ 2 แบ่งเป็นสองกรณี

สารตังต้นต่างชนิดกันและมีความเข้มข้นเริมต้นไม่เท่ากัน

ขึ้นกับสารตังต้นเพียงตัวเดียว ([A]2) หรือขึนกับสารตังต้น สองตัวแต่มีความเข้มข้นเริมต้นเท่ากัน ([A] = [B])

ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง

ครึงชีวิต t ½ →a = ½ a0

อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึนกับความเข้มข้นของสาร ตังต้น

ปฏิกิริยาอันดับศูนย์

ค่าครึ่งชีวิตของปฏิกิริยาอันดับศูนย

ครึงชีวิต (t ½) คือ เวลาทีใช้ในการทําให้ความเข้มข้นของ สารตังต้นลดลงเหลือเพียงครึงหนึงของความเข้มข้นเริมต้น ที t = t½ จะได้[A] = a = ½a0 ครึงชีวิตของปฏิกิริยาอันดับศูนย์

อัตราการเกิดปฏิกิริยามีค่าคงที ไม่ขึนกับความเข้มข้น ของสารตังต้น (ส่วนใหญ่เป็นปฏิกิริยาวิวิธพันธ์)

ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ของสารเริ่มต้นเพียงชนิดเดียวA →ผลิตภัณฑ์

กฎอัตราอินทิเกรตเป็นสมการทีแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นของสารและเวลา

กฎอัตราอินทิเกรตหาได้จากการอินทิเกรตกฎอัตรา ดิฟเฟอเรนเชียล

อันดับของปฏิกิริยาสามารถหาได้จากความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นของสารตังต้นหรือผลิตภัณฑ์ทีเวลา ต่างๆ (การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยตรงทําได้ยาก)

อธิบายว่าความเข้มข้นของสารเป็นเท่าใดทีเวลาต่างๆ

อันดับปฏิกิริยาและกลไกปฏิกิริยา
การหาอันดับปฏิกิริยา

การหาอันดับปฏิกิริยาเทียบกับสารแต่ละตัว

หาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความ เข้มข้นของสารแต่ละชนิด (อันดับของปฏิกิริยา)

วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา(initial rate)เทียบกับสารตังต้น ทีความเข้มข้นเริมต้นต่างๆ กัน

เขียนกฎอัตราของปฏิกิริยาในเทอมของสารตังต้นทุกตัว

จากปฏิกิริยา aA + bB ➡ pP + qQ

อันดับของปฏิกิริยาหาได้จากการทดลอง

ถ้าอันดับของปฏิกิริยาไม่เท่ากับสัมประสิทธิ (x ≠ a หรือ y ≠ b ปฏิกิริยาจะเกิดขึนโดยผ่านขันตอน ย่อย (elementary step)

ถ้าอันดับของปฏิกิริยาเท่ากับสัมประสิทธิ (x = a และ y = b) อาจสันนิษฐานได้ว่าปฏิกิริยาเคมี เกิดขึนแบบขันตอนเดียว (simple reaction)

กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล (Differential Rate Law)
กฎอัตราสามารถเขียนในรูปสมการดิฟเฟอเรนเชียล

อันดับของปฏิกิริยาได้จากการทดลองเท่านัน

m + n = 0 ➡ ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ = 1 ➡ ปฏิกิริยาอันดับหนึง = 2 ➡ ปฏิกิริยาอันดับสอง = 3/2 ➡ ปฏิกิริยาอันดับสามส่วนสอง

ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารตังต้นและ อัตราการเปลียนแปลงความเข้มข้นของสาร
คือ ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ทีแสดงว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาแปรผันตามความเข้มข้นของสาร ตังต้นอย่างไร
กฎอัตรา บอกได้แต่เพียงว่าการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดปฏิกิริยาแต่ค่าคงที่อัตราอาจเปลี่ยนแปลงไปได้เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปหรือมีการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยา= k [A]m[B]n

เมื่อ k คือค่าคงที่อัตรา(rate constant) และm, n คืออันดับปฏิกิริยาซึ่งเป็นตัวเลขที่บอกสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงอัตราต่อการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารตั้งต้นโดยที่ m + n = อันดับของปฏิกิริยา(order of reaction)เรียก กฎอัตรา (rate law)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Reaction Rate)

ความเข้มข้นและอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์ไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา ยกเว้นบางกรณีเช่น reversible reaction หรือ autocatalysis
ความเข้มข้นของสารตังต้นสัมพันธ์กับอัตราการเกิดปฏิกิริยา

ค่า r ไม่จําเป็นต้องขึนกับสารตังต้นทุกตัว

เมือเวลาผ่านไปสารตังต้นลดลง จะส่งผลให้r ลดลง

ปัจจัยทีมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
ธรรมชาติของตัวทําละลาย
ขนาดของอนุภาคในปฏิกิริยาวิวิธพันธ
ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst)
อุณหภูมิ
ความเข้มข้นของสารตังต้น (หรือความดันในกรณีแก๊ส)
ธรรมชาติของสารตังต้น
การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาหาได้โดยการวัดความเข้มข้นของสาร ตังต้นหรือผลิตภัณฑ์ทีเวลาต่างๆ

อัตราการเปลียนแปลงความเข้มข้นของ สาร (ความชันของกราฟ) มีค่าไม่คงที่

อัตราการเกิดปฏิกิริยาหาได้จากอัตรา การเปลียนแปลงความเข้มข้นของสาร

อัตราการเปลียนแปลงความเข้มข้นของสาร เท่ากับ ความชันของกราฟ

เขียนกราฟระหว่างเวลา (t) และความเข้มข้นของสาร [A]

อัตราเร็ว(rate)=−[สารตั้งต้น]∆t=[ผลิตภัณฑ์]∆t
การเปลียนแปลงความเข้มข้น A + B ➡ P
อัตราการเปลียนแปลงความเข้มข้น

อัตราการเกิดปฏิกิริยา

อัตราการเกิดปฏิกิริยาสามารถหาได้จากอัตราการ เปลียนแปลงของความเข้มข้นของสารตัวใดตัวหนึงใน ปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเปลียนแปลงความเข้มข้นของสารแต่ละตัวมี ความสัมพันธ์กันตามปฏิกิริยาเคมี(ปริมาณสารสัมพันธ์)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา(rate of reaction; r) สามารถคํานวณได้จาก อัตราการเปลียนแปลงความเข้มข้นของสาร(ตัวใดก็ได้)

อัตราการเปลียนแปลงความเข้มข้นของสารแต่ละชนิดใน ปฏิกิริยาอาจไม่เท่ากัน

ขณะทีปฏิกิริยาดําเนินไป (t เพิม)

ความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์[P] เพิมขึน

ความเข้มข้นของสารตังต้น [A], [B] ลดลง

หมายถึงปริมาณของสารใหม่ที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลาหรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงในหนึ่งหน่วยเวลา
อัตราการเกิดปฏิกิริยามีหน่วย เป็นความเข้มข้น/เวลา (mol L–1 s–1,mol L–1min–1, etc.)
ระบุในเทอมของการเปลียนแปลง ความเข้มข้นของสารตังต้นและ สารผลิตภัณฑ์ทีเกิดขึนต่อหน่วย เวลา