Categorie: Tutti - กฎหมาย - กำไร - นิติบุคคล - รายได้

da Ariya Chaowalit mancano 5 anni

196

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax)

การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลมีหลายขั้นตอนที่ต้องปฏิบัติตาม โดยทั่วไปแล้วจะคำนวณจากกำไรสุทธิที่ได้จากการดำเนินกิจการในรอบระยะเวลาบัญชี การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลจะต้องทำภายในกำหนดเวลาที่กฎหมายกำหนด เช่น ยื่นแบบ ภ.

ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(Corporate Income Tax)

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax)

การยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษี

การเสียภาษีเงินได้จากกําไรสุทธิเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี
ระยะเวลาบัญชีจะต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้ อมชําระภาษี (ถ้ามี) ตามแบบ ภ.ง.ด.50 ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญช
การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี
จะต้องยื่นแบบแสดงรายการพร้ อมชําระภาษี (ถ้ามี) ตามแบบ ภ.ง.ด.51 ภายใน 2 เดือน นับจากวันสุดท้ายของทุก 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี

อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล

การลดอัตราภาษีเงินได้สําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลซึ่งมีทุนชําระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาทและมีรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการไม่เกิน 30 ล้านบาท(SMEs)
ลดอัตราภาษีเงินได้สําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลโดยทั่วไป คือ ร้อยละ 30

เงินบริจาค

หักเป็นเงินบริจาคได้ 1 เท่า
รายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา4
รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะฯ3
หักเป็นเงินบริจาคได้ 2 เท่า
แต่ต้องไม่เกินร้ อยละ 10 ของกําไรสุทธิก่อนหักรายจ่าย เพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณะประโยชน์และเพื่อการศึกษาหรือการกีฬา

เงื่อนไขการคํานวณกําไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม)

รายจ่ายที่มีลักษณะทํานองเดียวกับที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (19) ซึ่งจะกําหนดโดยพระ ราชกฤษฎีกา
รายจ่ายใดๆ ที่กําหนดจ่ายจากผลกําไรที่ได้เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีแล้ว
รายจ่ายซึ่งผ้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคาตํ่าลง ทั้งนี้ภายใต้บังคับมาตรา 65 ทวิ
ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญหรือสิ้นไปเนื่องจากกิจการที่ทํา
ค่าซื้อทรัพย์สินและรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อหรือขายทรัพย์สินในส่วนที่เกินปกติ โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะ
รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากําไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ
ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกันใดๆ หรือ ขาดทุนสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนๆ เว้นแต่ผลขาดทุนสุทธิ ยกมาไม่เกิน 5 ปี ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปี ปัจจุบัน
ดอกเบี้ยที่คิดให้สําหรับเงินทุน เงินสํารองต่างๆ หรือเงินกองทุนของตนเอง
ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเองและใช้เอง
รายจ่ายซึ่งกําหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริงหรือรายจ่ายซึ่งควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอื่น
เงินเดือนของผ้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนเฉพาะส่วนที่จ่ายเกินสมควร
การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทนของผ้เป็ นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
เบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มภาษีอากร
รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน
ค่ารับรองหรือค่าบริการ
รายจ่ายอันมีลักษณะเป็ นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หา หรือการกุศล
เงินกองทุน
เงินสํารองต่างๆ

เงื่อนไขการคํานวณกําไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ

ภาษีขาย
มูลนิธิหรือสมาคม
เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําไร
ดอกเบี้ยกู้ยืมที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่าย
การคํานวณเงินปันผลเป็นรายได้
การจําหน่ายหนี้สูญ
การคํานวณราคาทุนของสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ
การคํานวณราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจากต่างประเทศ
การตีราคาสินค้าคงเหลือ
การคํานวณมูลค่าของทรัพย์สินและหนี้สิน เมื่อมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ
การโอนทรัพย์สินโดยไม่มีค่าตอบแทน
การตีราคาทรัพย์สิน
ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน
หลักเกณฑ์และวิธีการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา
การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจะต้องไม่เกินอัตราร้อยละของมูลค่าต้นทุน
รายการที่ระบุไว้ในมาตรา 65 ตรี

การคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี
ยกเว้นตามกฎหมายอื่น
ยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา
ยกเว้นตามประมวลรัษฎากร
เกณฑ์การพิจารณารายได้
รายได้ที่ต้องนํามาคํานวณภาษี
รายได้เนื่องจากกิจการที่กระทํา
รายได้จากกิจการ

สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี

ในเขตจังหวัดอื่น ให้ยื่น ณ
สํานักงานสาขาของธนาคารพาณิชย์ไทยในเขตอําเภอหรือกิ่งอําเภอท้องที่ที่สํานักใหญ่ตั้งอยู่
ที่ว่าการอําเภอหรือกิ่งอําเภอท้องที่ที่สํานักงานใหญ่ตั ้งอยู่ ในกรณีสํานักงานสรรพากรอําเภอ มิได้ตั ้งอยู่ ณ ที่ว่าการอําเภอให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากรอําเภอ
ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ
ธนาคารพาณิชย์ไทย และสาขา ในเขตกรุงเทพมหานคร
สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา(สรรพากรเขต) ในท้องที่ที่สํานักงานใหญ่ตั้งอยู่

การคํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกําไรสุทธิ

การคํานวณเงินได้นิติบุคคลจากกําไรสุทธิเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญช
การคํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งรอบระยะเวลาบัญช

รอบระยะเวลาบัญชี

รอบระยะเวลาบัญชีมากกว่า 12 เดือน
รอบระยะเวลาบัญชีน้อยกว่า 12 เดือน
รอบระยะเวลาบัญชีโดยทั่วไป

แหล่งเงินได้

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

นิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษี

นิติบุคคลบางประเภทที่เข้าลักษณะต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
นิติบุคคลที่ไม่แสวงหากําไร
นิติบุคคลที่เป็นองค์การของรัฐ

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

นิติบุคคลที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้
กิจการร่วมค้า (Joint Ventrue)
กิจการซึ่งดําเนินการเป็นทางค้า หรือหากําไร
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

ฐานภาษีเงินได้นิติบุคคล

ฐานการจําหน่ายเงินกําไรออกไปจากประเทศไทย
ฐานเงินได้บางประเภทที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
ฐานรายรับก่อนหักรายจ่าย
ฐานกําไรสุทธิ