บทที่ 6
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
Use this mind map structure to discover unseen connections, generate new ideas and reach a better understanding of any given subject.
การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
In the conclusion you should have a brief summary of your key points.
อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. ร้อยละ 3 สำหรับรายรับจากกิจการต่อไปนี ้
(1) กิจการธนาคารพาณิชย์
(2) กิจการธุรกิจเงินทุนธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
(3) กิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
(4) กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร
(5) กิจการอื่นที่จะกำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาให้อยู่ในบังคับเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
นอกจากอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะที่ต้องเสียภาษีตามประมวลรัษฎากรตาม 1.2. และ 3. ตามที่ กล่าวข้างต้น ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะต้องเสียภาษีท้องถิ่นอีกร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ
2. ร้อยละ 2.5 สำหรับรายรับจากกิจการต่อไปนี้
(1) กิจการประกันชีวิต
(2) กิจการโรงรับจำนำ
1. ร้อยละ 0.1 สำหรับรายรับจากการกิจการขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาด
หลกั ทรัพย์แหง่ ประเทศไทยในตลาดหลัก ทรัพย์
หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการ
ในระบบภาษีธุรกิจเฉพาะ
5. หน้าที่ในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกจิ เฉพาะ
5.1) ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกจิ เฉพาะ
5.2) แบบแสดงรายการที่ใช้และกำหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการ
5.3) สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจ เฉพาะ
4. หน้าที่ในการเก็บรักษารายงานและเอกสารหลักฐาน
ผู้ประกอบกิจการที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะต้องเก็บและรักษารายงานพร้อมทั้งเอกสารประกอบ การลงรายงานหรือเอกสารที่อธิบดีกำหนดไว้ ณ สถานประกอบการจัดทำรายงานนั้นหรือสถานที่อื่นที่อธิบดีสรรพากร กำหนดเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการ
ภาษีหรือวนั ทำรายงานแล้วแต่กรณี
3. หน้าที่ในการจัดทำรายงาน
ผู้ประกอบกิจการที่มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ มีหน้าที่จัดทำรายงานแสดงรายรับก่อนหักรายจ่ายที่ต้องเสียภาษีและรายรับที่ไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีรายงานดังกล่าวให้จัดทำตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดโดยให้จัดทำเป็นรายสถานประกอบการ ทั้งนี้การลงรายการในรายงานให้ลงภายใน 3 วันทำการนับแต่วันที่มีรายรับเว้นแต่อธิบดีกรมสรรพากรเห็นสมควร สำหรับการประกอบกิจการบางประเภทหรือในกรณีจำเป็นเฉพาะรายอธิบดีจะกำหนดเป็นอย่างอื่นตามที่เห็นสมควรก็ได้
2. หน้าที่ในการออกใบรับ ผู้ประกอบกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะซึ่งได้รับเงิน หรือรับชำระราคาจากการขายสินค้า หรือการให้บริการหรือจากการกระทำกิจการรวมเงินหรือราคาที่ได้รับชำระแต่ละครั้งเกิน 100 บาท ต้องออกใบรับให้แก่ ผู้จ่ายเงินหรือผู้ชำระราคาในทันทีทุกคราวที่รับเงินหรือรับชำระราคาไม่ว่าจะมีการเรียกร้องให้ออกใบรับหรือไม่ก็ตาม
1. หน้าที่ในการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
ผู้ประกอบกิจการซึ่งประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะมีหน้าที่ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะแบบ ภ.ธ.01 ภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มประกอบกิจการ
วิธีการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
1.1) แบบคำขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภ.ธ.01)
แห่ง
1.2) การกรอกแบบคำขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
1.3) เอกสารที่ต้องแนบพร้อมแบบคำขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
1.4) กำหนดเวลาในการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
1.5) สถานที่จดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
1.6) ใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
1.7) การเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้จดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะไว้แล้ว
การขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ
4. กำหนดเวลายื่นคำร้อง
ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ยื่นคำร้องขอคืนเงินภาษีภายใน 3 ปีนับแต่วันพ้นกำหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการภาษี
3. เอกสารที่ต้องแนบพร้อมคำร้องขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ
การยื่นคำร้องขอคืนเงินภาษีเงินธุรกิจเฉพาะ แบบ ค.10 จะต้องแนบเอกสารที่เกี่ยวข้องไปพร้อมกับคำร้องด้วยได้แก่
(3) หลักฐานอื่นที่เกี่ยวจ้องกับประเด็นที่ขอคืน
2) ใบเสร็จรับเงินภาษีธุรกิจเฉพาะ
(1) หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล กรณีผู้ขอคืนเป็นนิติบุคคล
2. แบบคำร้องขอคืนเงินภาษีอากร
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะมีสิทธิขอคืนเงินภาษีได้โดยใช้คำร้องขอคืนเงินภาษีอากรคือ แบบ ค.10
1. ผู้มีสิทธิขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ
(2) ผู้ไม่มีหน้าที่เสียภาษีแต่ได้ชำระภาษีไว้
1) ผู้ประกอบกิจการที่มีหน้าที่เสียภาษี ซึ่งได้ชำระภาษีไว้เกิน หรือผิด หรือซํ้า
ความผิดทางภาษีธุรกิจเฉพาะ
2. ความผิดทางอาญา
กรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีภาษีธุรกิจเฉพาะฉบับปกติล่าช้า ไม่ว่าจะเงินภาษีต้องชำระหรือไม่ก็ตามผู้ประกอบกิจการต้องรับผิดระวางโทษปรับตามมาตรา 90(2) จำนวน 2,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
1. ความผิดทางแพ่ง
เงินเพิ่ม ได้แก่
กรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีภาษีธุรกิจเฉพาะฉบับปกติล่าช้า และมีเงินภาษีต้องชำระผู้ประกอบกิจการต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชำระตามแบบแสดงรายการ ในกรณีอธิบดีกรมสรรพากรอนุมัติให้ขยายกำหนดเวลาชำระภาษี และได้มีการชำระภาษีภายในกำหนดเวลาที่ขายให้นั้น เงินเพิ่มให้ลดลงเหลือร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรือเศษของเดือน
เบี้ยปรับ ได้แก่
(3) กรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีไว้ไม่ถูกต้องหรือมีข้อผิดพลาดเป็นเหตุให้จำนวนภาษีที่ต้องเสียในแต่ละเดือนคลาดเคลื่อนไปจะต้องเสียเบี้ยปรับอีก 1 เท่าของเงินภาษีที่เสียคลาดเคลื่อน
(2) กรณีมิได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะภายในกำหนดเวลาจะต้องเสียเบี้ยปรับอีก 2 เท่าของเงินภาษีที่ต้องเสียในแต่ละเดือนภาษี
(1) กรณีมิได้ยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ หรือเมื่อถูกสั่งเพิกถอนใบทะเบียนแล้วยังประกอบกิจการโดยไม่มีใบทะเบียนจะต้องเสียเบี้ยปรับอีก 2 เท่าของเงินภาษีที่ต้องเสียในแต่ละเดือนภาษีตลอดระยะเวลาที่ไม่จดทะเบียนหรือเป็นเงิน 1,000 บาทต่อเดือนแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า
รายรับที่ได้รับยกเว้น
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. รายรับที่เป็นกำไรของกิจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์และการประกอบกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ให้ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับรายรับเฉพาะที่เป็นกำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการซื้อหรือขายตั๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ ในแต่ ละเดือนภาษีเป็นจำนวนเท่ากบั ผลขาดทุนจากการซือ้ ขายตวั๋ เงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนีใ้ ดๆ ในแต่ละเดือนภาษีนนั้ (พระราชกฤษฎีกา (ฉบบั ที่ 388) พ.ศ. 2544)
4. รายรับที่เป็นกำไรของกิจการซื้อ และขายหลักทรัพย์ ให้ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะแก่ ผู้ขายหลักทรัพย์ในกิจการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อ คืนเฉพาะในส่วนของหลักทรัพย์ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สำหรับกำไรที่ได้จากการโอนหลักทรัพย์ให้แก่ผู้ซื้อหลักทรัพย์
5. รายรับที่เป็นกำไรของกิจการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะแก่ผู้จัดสรรที่ดินสำหรับรายรับอันเนื่องมาจากผู้จัดสรรที่ดินได้จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมโอนทรัพย์สินที่เป็นสาธารณปูโภคและบริการสาธารณะให้แก่นิติบคุคลหมู่บ้านจัดสรรหรือนิติบุคคลตามกฎหมายอื่นที่ผู้ซื้อที่ดินจัดสรรตั้งขึ้นมา
2. รายรับที่เป็นดอกเบี้ย ของกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ตามมาตรา 91/5(5) ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.26/2534
1. รายรับของธนาคารพาณิชย์ที่เป็นกิจการวิเทศธนกิจ ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะในส่วนที่เป็นรายรับจากกิจการวิเทศธนกิจของธนาคารพาณิชย์
ฐานภาษีธุรกิจเฉพาะ
รายรับของผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
7. ธุรกิจแฟ็คเตอริง ได้แก่ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ
6. กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้แก่ กำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการขายหลักทรัพย์แต่ไม่รวมถึงดอกเบี้ยเงินปันผลหรือผลประโยชน์ใดๆ ที่ได้จากหลักทรัพย์
5. กิจการขายหลักทรัพย์ ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ รายรับจากการประกอบกิจการคือ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
4. กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร รายรับจากการประกอบกิจการคือ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ทั้งสิ้นได้แก่
(1) กรณีขายอสังหาริมทรัพย์โดยมีค่าตอบแทน ฐานภาษี ได้แก่ ราคาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ที่คู่สัญญาตกลงซื้อขายกัน หรือราคาประเมินเพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการโอนสิทธิหรือนิติกรรมตามกฎหมายที่ดิน แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า
(2) กรณีจำหน่าย จ่าย โอนอสังหาริมทรัพย์ โดยไม่มีประโยชน์หรือค่าตอบแทน ฐานภาษี กฎหมายที่ดิน
3. กิจการโรงรับจำนำ ได้แก่
(1) ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม และ
(2) เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ใดๆ อันมีมูลค่าที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายของที่หลุดจำนำเป็นสิทธิ์
2. กิจการประกันชีวิต ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ
1. กิจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ หรือกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
ฐานภาษีสำหรับการประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ที่ผู้ประกอบกิจการได้รับหรือพึงได้รับเนื่องจากการประกอบกิจการ
กิจการที่ได้รับยกเว้น
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
1. กิจการของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
2. กิจการของบรรษัทเงินทนุ หลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทย (IFCT)
3. กิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์ เฉพาะการให้กู้้ยืมมแก่สมาชิก หรือสหกรณ์ออมทรัพย์อื่น
4. กิจการของกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ ตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ
5. กิจการของการเคหะแห่งชาติเฉพาะการขาย หรือการให้เช่าซือ้ อสังหาริมทรัพย์
6. กิจการรับจำนำของกระทรวง ทบวง กรม และราชการส่วนท้องถิ่น
7. กิจการอื่น ตามที่กำหนดยกเว้นโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 240) พ.ศ. 2534 ได้แก่
(1) กิจการขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์
(2) กิจการของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม
(3) กิจการของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม
(4) กิจการของธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
(5) กิจการของกองทุนสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
(6) กิจการขององค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน
(7) กิจการของบรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน
(8) กิจการของนิติบุคคล เฉพาะกิจในส่วนที่เกี่ยวกับการแปลงสินทรัพย์ เป็นหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์เฉพาะกรณีต่อไปนี้
(ก) กิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2 ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการรับโอนทรัพย์สินจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่น หรือการโอนทรัพย์สินดังกล่าวกลับคืนให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด
(ข) การประกอบกิจการที่ได้รับโอนมาจากผู้โอน ซึ่งเป็นกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะตามข้อ (1) – (7) ข้างต้น
(9) กิจการของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่น ในส่วนที่เกี่ยวกับการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เฉพาะกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2 ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการโอนทรัพย์สินให้แก่นิติบุคคลเฉพาะกิจ หรือการรับโอนทรัพย์สินดังกล่าวกลับคืนจากนิติบุคคลเฉพาะกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด
(10) กิจการของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน และกองทุนรวมเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงินที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เฉพาะการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เป็นทางค้าหรือกำไร
(11) กิจการของบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย
(12) กิจการของการเคหะ เฉพาะการให้กู้ยืมเงินตามโครงการพัฒนาคนจนในเมือง
(13) กิจการของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์บริการ ซึ่งดำเนินการจัดหาที่อยู่ให้แก่สมาชิก เฉพาะการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(ก) ต้องเป็นสหกรณ์ที่เป็นสมาชิกของโครงการพัฒนาคนจนในเมืองของการเคหะแห่งชาติและได้รับเงินกู้ตามโครงการดังกล่าว
(ข) ต้องนำเงินกู้ที่ได้รับไปจัดซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อขายต่อให้แก่สมาชิกของสหกรณ์นั้น
(14) กิจการของสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทบริหารสินทรัพย์ เฉพาะกรณีที่
(ก) สถาบันการเงินนั้นถือหุ้นในบริษัทบริหารสินทรัพย์เกินกว่าร้อยละ 50 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงหรือในกรณีที่สถาบันการเงินนั้นถือหุ้นในบริษัทบริหารสินทรัพย์และสถาบันการเงินนั้นเกินกว่าร้อยละ 50 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียง จะต้องมีนิติบุคคลรายหนึ่งถือหุ้นในบริษัทบริหารสินทรัพย์และสถาบันการเงินนั้น เกินกว่าร้อยละ 50 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียง
(ข) เป็นรายรับที่ได้จากบริษัทบริหารสินทรัพย์เนื่องจากการให้สินเชื่อแก่บริษัทบริหารสินทรัพย์เพื่อรับซื้อหรือโอนสินทรัพย์ด้วยคุณภาพของสถาบันการเงินนั้นหรือสถาบันการเงินอื่นที่มีสถาบันการเงินนั้นถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียง หรือการให้สินเชื่อแก่บริษัทบริหารสินทรัพย์เพื่อใช้ในการบริการสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่รับซื้อหรือรับโอนจากสถาบันการเงินนั้นหรือสถาบันการเงินอื่นที่มีสถาบันการเงินนั้นถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียง
(ค) สถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพย์ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด
(15) กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางการค้าหรือกำไรเฉพาะที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ เนื่องจาก
(ก) การรับไถ่อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝากหรือการไถ่อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝากโดยการวางทรัพย์ต่อสำนักงานวางทรัพย์ภายในเวลาที่กำหนดได้ในสัญญาหรือภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด
(ข) การขายอสังหาริมทรัพย์ภายหลังที่ได้ไถ่จากการขายฝาก ซึ่งเมื่อรวมระยะเวลาการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ก่อนการขายฝาก ระยะเวลาระหว่างการขายฝากและระยะเวลาภายหลังจากการขายฝากแล้วเกิน 5 ปี
(16) กิจการของรัฐวิสาหกิจในส่วนของรายรับที่ได้รับจากการขายอสังหาริมทรัพย์ อันเนื่องมาจากการนำทุนบางส่วนหรือทั้งหมดมาเปลี่ยนสภาพเป็นหุ้นในรูปแบบของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายว่าด้วยทุนรัฐวิสาหกิจ
(17) กิจการของสถาบันพัฒนาองค์การชุมชน(องค์การมหาชน) เฉพาะการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
(18) กิจการของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
(19) กิจการของกองทุนหมุนเวียนเพื่อการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนเอกชนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
(20) กิจการของกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่กฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการมีผลใช้บังคับ
(21) กิจการของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เฉพาะการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์และการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร
(22) กิจการของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เฉพาะการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ และการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2535 เป็นต้นไป
(23) กิจการของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย เฉพาะการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผู้รับโอนเนื่องจากการให้เช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
(24) กิจการของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป
(25) กิจการขายข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป
(26) กิจการขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าในศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่เปิดทำการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าในศูนย์ซื้อขายสั
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
The key points are the arguments which will support your thesis. These can be agreeing arguments or disagreeing arguments too, in each case they need to reflect on the main idea.
3. ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
มีความหมายเช่นเดียวกับผู้ประกอบการที่มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่ง อธิบายไว้แล้วในบทที่ 5 เรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม รวมทัง้ ในกรณีที่บุคคลอยู่นอกราชอาณาจักรประกอบกิจการโดยผ่าน ผู้ประกอบการหรือตวั แทนของตนที่อยู่
ในราชอาณาจักรให้ถือว่า ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
2. ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
1) การธนาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์หรือกฎหมายเฉพาะ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ทั้งที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย หรือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศและประกอบกิจการในราชอาณาจักร
2) การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ ได้แก่ บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์
3) การรับประกันชีวิตตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต
สำหรับการประกันวินาศภัยตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย ได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เป็นกิจการที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้นไป ตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 33) พ.ศ. 2541
4) การรับจำนำตามกฎหมายว่าโรงรับจำนำ
5) การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้กู้ยืมเงินคํ้าประกัน แลกเปลี่ยนอัตราเงินตรา ออกซื้อหรือขายตั๋วเงิน รับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธีต่างๆ
6) การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์นั้นจะได้มาโดยวิธีใด ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 342) พ.ศ. 2541 ใช้บังคับแทนพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 244) พ.ศ. 2534 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้นไป
7) การขายหลักทรัพย์ ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์
8) การประกอบกิจการอื่น ตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ได้แก่
(1) กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ เป็นกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 350) พ.ศ. 2524 ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
(2) การประกอบธุรกิจแฟ็คเตอริง เป็นกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ เนื่องจากการประกอบธุรกิจดังกล่าวมีลักษณะคล้ายคลึงกับการให้กู้ยืมที่เป็นการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ (พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 358) พ.ศ. 2542)
1. เป็นบุคคล คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล หรือนิติบุคคล
- บุคคลธรรมดา
- คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
- กองมรดก
- ห้างหุ้นส่วนสามัญ
- กองทุน
- หน่วยงานหรือกิจการของเอกชนที่กระทำโดยบุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปอันมิใช่นิติบุคคล
- องค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และองค์กรอื่นที่กฎหมายกำหนดให้เป็นนิติบุคคล
นิยามภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีธุรกิจเฉพาะคำนวณจากรายรับที่กิจการได้รับหรือพึงได้รับในเดือนภาษีตามอัตราภาษีที่กฎหมายกำหนดไว้ การเสียภาษีจะเสียเป็นรายเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป และเสียภาษีบำรุงเทศบาลหรือรายได้สุขาภิบาล หรือรายได้จังหวัด ควบคู่กันไปอีกร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะด้วย โดยกรมสรรพากรช่วยดำเนินการจัดเก็บ เพื่อส่งเป็นรายได้แก่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเพื่อใช้จ่ายในการกิจการของท้องถิ่นนั้น
State the main idea of the essay. This will be your thesis statement.
ภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากรเป็นภาษีอากรประเมินและเป็นภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการบริโภค เริ่มใช้บังคับใน พ.ศ. 2535 พร้อมกันกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บจากการขายสินค้าหรือการให้บริการโดยทั่วไป แต่ภาษีธุรกิจเฉพาะจะจัดเก็บจากการประกอบกิจการเฉพาะอย่าง แทนภาษีการค้าที่ถูกยกเลิก
In the introduction you should state the ideas what you want to defend along the essay.