von Nattawadee Jaisabuy Vor 4 Jahren
450
Mehr dazu
อายุ
พื้นที่
ความหนา
ความกว้าง
ความเร็ว
น้ำหนัก
สถิติชั้นสูงอื่นๆทุกตัว
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ระดับความคิดเห็น
ระดับทัศนคติ
อุณหภูมิ
ตัวแปรวุฒิการศึกษา ประถม มัธยม
ลำดับความนิยม
ลำดับที่การสอบ
ชื่อจังหวัด
อาชีพ
ตัวแปรเพศ
ร้อยละ
สัดส่วน
ความถี่
ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลองจึงต้องควบคุม เพื่อกันความคลาดเคลื่อน
เปลี่ยนไปตามตัวแปรอิสระ (ตัวแปรต้น)
เปลี่ยนแปลงตัวแปรเพื่อสังเกตผลที่ตามมา
กำหนดขึ้นทดสอบสมมมติฐาน
Sign Test
Median Test
ไคสแควร์
สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้น3ข้อของสถิติพารามิเตอร์
การใช้สัญลักษณ์
Subtopic
ภาษาอังกฤษ
r แทน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
s² แทน ความแปรปรวน
s แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
x̄ แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ภาษากรีก
ρ แทน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
σ² แทน ความแปรปรวน
σ แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
μ แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ประชากรแต่ละกลุ่มมีความแปรปรวนเท่ากัน (ข้อตกลง3)
Regression
ANOVA
Z-Test
T-Test
มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ (ข้อตกลง2)
ใช้ข้อมูล Interval Scale (ข้อตกลง1)
มีการนำทฤษฎีความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้
การทดสอบสมมติฐาน
การประมาณค่า
ว่าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุปลักษณะบางประการของประชากร
กราฟแสดงคะแนนสอบ
ตารางแสดงจำนวนและร้อยละของนักเรียนที่เข้าสอบ
การใช้แผนภาพ
การใช้อักษรหรือตัวเลข
สถิติพรรณนาที่ควรนำมาใช้กับตัวแปรเชิงปริมาณ
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Derivation)
ค่าเฉลี่ย (Mean)
ค่าสูงสุด (Maximum)
ค่าต่ำสุด (Minimum)
ตัวอย่าง
ค่าความสูง (Kurtosis)
ค่าความเบ้ (Skewness)
ค่าควอไทล์(Quartiles)
ค่าฐานนิยม (Mode)
ค่ามัธยฐาน (Median)
ค่าผิดพลาดมาตรฐานของค่าเฉลี่ย (Standard Error of Mean)
พิสัย (Range)
ค่าการผันแปร (Variance)
ขนาดตัวอย่าง (N)
ใช้ได้กับข้อมูลแบบ Interval Scale และ Ratio Scale
ค่าสถิติเชิงพรรณนาที่สำคัญจากการวิเคราะห์สถิติ
อัตราส่วนที่ถูกต้อง (Valid Percent) เป็นการคำนวณที่ไม่ ใช้ค่าที่ไม่ต้องการหรือขาดหาย (Missing) ในการ วิเคราะห์
อัตราส่วนร้อยปกติ (Percent) เป็นการนำข้อมูลทุกกรณีมาวิเคราะห์ ไม่ว่าข้อมูลจะขาดหายไป
ค่าความถี่(Frequency)
ต้องลงรหัสข้อมูลเป็นตัวเลข (coding) หากไม่ต้องการวิเคราะห์ให้เป็น Missing Value(s)
ส่วนใหญ่ใช้กับข้อมูลจากแบบสอบถาม
ช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้นว่าการวิจัยได้เก็บข้อมูล จากกลุ่ม/หน่วยวิเคราะห์ที่เหมาะสมหรือไม่
เหมาะสำหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจำให้เห็นเป็นรูปธรรม
ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งศึกษา
การเสนอผลสถิติพรรณนาในรายงานวิจัย
ไม่ใส่คำที่ไม่ใช่สาระหลังตัวเลขกำกับตาราง
เปรียบเทียบ
แสดง
ที่
ระบุหมายเลขและชื่อตารางของทุกตาราง
นิยมเสนอในรูปแบบตาราง หากข้อมูลที่แสดงมีหน่วยวัด ต้องระบุหน่วยวัดที่ใช้กับตัวแปรแต่ละตัวอย่างชัดเจน