作者:PLOY JINDARUT 5 年以前
869
更多类似内容
ทฤษฎีการมีกิจกรรมร่วมกัน (The Activity theory)
ยอมรับบาบาทหน้าที่ ของตัวเองที่เป็นอยู่
เป็นที่ปรึกษาให้ คนภายในครอบครัว
อารมณ์ดี
ยิ้มแย้ม แจ่มใส
ไม่มีความวิตกกังวล
ไม่มีความคิดที่หมกมุ่น เกี่ยวกับอดีต
มีความคิดที่สมกับวัย
เจ็บป่วยเล็กน้อยจะหายากินเอง
ไม่ค่อยออกกำลังกาย
ทานอาหารไม่ครบ 5 หมูบางมื้อ
4 แปลผล ค่าปกติในผู้สูงอายุไทย ไม่มีความเศร้า
6 แปลผล ไม่มาการของโรคซึมเศร้าหรือมีอาการของโรคซึมเศร้าระดับน้อยมาก
ผู้สูงอายุใช้เวลาในการเดินตั้งแต่ 30 วินาทีขึ้นไป ถือว่า มีความเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม
-2.2 แปลผล มีความเสี่ยงปานกลาง
ปวดเข่า และ ตอบใช่ 1 ข้อ แปลผล มีโอกาสที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
12 แปลผล ภาวะโภชนาการปกติ
25.56 แปลผล อ้วน
ไม่มี delirium
19 แปลผล การรู้คิดปกติ
22 (ผู้สูงอายุเรียนระดับประถมศึกษา) แปลผล ไม่มีภาวะสมองเสื่อม
0 แปลผล ไม่มีภาวะการกลืนลำบาก
ไม่มีปัญหาเกี่ยวกับช่องปาก
20 แปลผล ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1(กลุ่มติดสังคม) พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่น ชมชน และสังคมได้
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory) เกิดจากการที่กระดูกอ่อนซึ่งทำหน้าที่ปกป้องและดูดซับแรงกระแทกภายในข้อเข่ามีการสึกหรอและเสื่อมสภาพลง หากกระดูกอ่อนนี้เสียหายเป็นพื้นที่กว้าง กระดูกในข้อเข่าจะเสียดสีกันเอง ทำให้เกิดการอักเสบและมีอาการปวด ผู้สูงอายุจึงมีอาการปวดข้อเข่า
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะข้อเข่าเสื่อม เนื่องจากกระดูกผิวข้อมีการเสื่อมตามอายุ ข้อมูลสนับสนุน S –ผู้สูงอายุบอกว่าปวดข้อเข่า -เจ็บที่กระดูกข้อเข่า O -จากการตรวจประเมินข้อเข่าเสื่อม ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
กิจกรรมการพยาบาล -ประเมินการปวดข้อเข่าของผู้สูงอายุเพื่อจะได้ให้การพยาบาลอย่างถูกวิธี -แนะนำผู้สูงอายุ เมื่อมีอาการปวดข้อเข่า ให้ทายานวด เพื่อบรรเทาอาการปวดของข้อเข่า -แนะนำให้ผู้สูงอายุจำกัดการเดินเพื่อลดอาการปวดของข้อเข่า -แนะนำท่าให้ผู้สูงอายุ ลุง นั่ง เดินอย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันไม่ให้การปวดข้อเข่าเป็นมากขึ้น -การปรับเปลี่ยนท่าทางหรืออิริยาบถในชีวิตประจำ วัน ลักษณะงานที่ทำ เพื่อลดการบาดเจ็บและแรงเค้นซํ้าๆ ต่อข้อเข่า หลีกเลี่ยงการนั่งคุกเข่า การขัดสมาธิ การนั่งพับเพียบ เพราะการนั่งในท่าที่งอเข่ามากๆ จะทำ ให้เพิ่มแรงดันภายในข้อเข่า และกระดูกที่งอกจากโรคข้อเข่าเสื่อมจะกดทับเนื้อเยื่อรอบๆ ข้อเข่าจะทำ ให้มีอาการปวดมากขึ้น -แนะนำให้ผู้สูงอายุทำกายภาพบำบัดที่โรงพยาบาล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของข้อเข่าเพิ่มขึ้น -แนะนำให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์กระดูกเมื่อมีการปวดข้อมากขึ้น เพื่อรักษาข้อเข่ไม่ให้ดีขึ้น -แนะนำ ผู้สูงอายุและครอบครัว ทราบถึงผลดีของการปรับสิ่งแวดล้อมในบ้าน เพื่อลดแรงกดหรือการเสียดสีของข้อเข่า
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุมีการปวดบริเวณข้อเข่า น้อยลง เกณฑ์การประเมินผล -การปวดข้อเข่าของผู้สูงอายุลดลง -ข้อเข่ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory) เกิดจากระบบประสาทมีการำงานหนัก เมื่ออายุมาก เซลล์ประสาทจะทำงานลดลง เสื่อมลงและตาย จนทำให้การทำงานของเซลล์ประสาทลดลง ผู้สูงอายุจึงมีการหลงๆลืมๆเล็กน้อย
ทฤษฎีการสะสม (Accumulative theory) เกิดจากการรับประทานอาหารจำพวกไขมัน(มันหมู) ทำให้เกิดการสะสมของไขมันในรูปต่างๆ และไม่ได้มีการเผาผลาญไขมันจึงทำให้ผู้สูงอายุรายนี้มีรูปร่างที่อ้วน
ผู้สูงอายุมีภาวะอ้วน เนื่องจากชอบทานอาหารที่มีไขมันสูง ข้อมูลสนับสนุน S -ผู้สูงอายุบอกว่าอ้วน -ชอบทานไขมันหมู O -ผู้สูงอายุมีลักษณะรูปร่างอ้วน -ค่า BMI ของผู้สูงอายุเท่ากับ 25.56 แปลผล อยู่ในเกณฑ์อ้วน -ไม่ออกกำลังกาย -ชอบทานไขมันหมู
กิจกรรมการพยาบาล -บอกให้ผู้สูงอายุทราบถึงโรคแทรกซ้อนที่ จะตามมา เพื่อให้ผู้สูงอายุตะหนักถึงภาวะอ้วน -แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการออกกำลังกายไม่เหมาะสมกับวัย -แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่ไม่มีไขมันหรือจำกัดการบริโภคไขมัน เพื่อลดภาวะอ้วนในผู้สูงอายุ
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุไม่อยู่ในภาวะอ้วน เกณฑ์การประเมินผล -ค่า BMI ลดลงจากเดิม -ลักษณะรูปร่างผอมลงจากเดิม
พูดเสียงปกติไม่ค่อยได้ยิน
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory) เนื่องจากประสาทรับเสียงในหูชั้นในเสื่อมจากอายุที่มากขึ้น จึงทำให้ผู้สูงอายุรายนี้มีการได้ยินที่ไม่ค่อยชัดเจน
ผู้สูงอายุมีภาวะหูตึง เนื่องจากพูดด้วย น้ำเสียงปกติ ไม่ค่อยได้ยิน ข้อมูลสนบสนุน S -ผู้สูงอายุบอกว่าพูดคุยกับคนอื่นไม่ค่อยได้ยิน O -พูดด้วยน้ำเสียงปกติได้ยินไม่ชัดเจน
กิจกรรมการพยาบาล -อธิบายเกี่ยวกับการได้ยินไม่ชัดเจนของผู้สูงอายุให้ครอบครัวและคนรอบข้างของตัวผู้สูงอายุได้เข้าใจ เพื่อให้ครอบครัวและคนรอบข้างจะได้เข้าใจตัวผู้สูงอายุมากขึ้น -แนะนำเกี่ยวกับการใช้น้ำเสียงในการพูดคุยกับผู้สูงอายุ เพื่อไม่ให้เกิดการเข้าใจ ผิดกันเกิดขึ้นเนื่องจากการพูดเสียงดังจนเกินไป จนทำให้ผู้สูงอายุคิดว่าตะคอกใส่ -ประสานงานกับ อสม. หรือครอบครัวจัดหาเครื่องช่วยฟัง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการได้ยินที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุมีประสิทธิภาพการฟังที่ดีขึ้น เกณฑ์การประเมินผล -ได้ยินเสียงผู้อื่นมากขึ้น -พูดคุยกับคนอื่นได้ดีขึ้น
ย่น
ขุย
กละ
แห้ง
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross-linking theory) เมื่ออายุมากขึ้นเนื้อเยื่อคอลลาเจนและอิลาสตินจะมีการเชื่อมตามขวางมากขึ้นทําให้สูญเสียความยืดหยุ่น มีลักษณะแข็งแตกและฉกขาดง่ายขึ้น ก่อให้เกิดผลต่อการซึมผ่านของสารที่เยื่อเอ็นจะแข็งและแห้งผิวหนังแหงเหี่ยว
ผู้สูงอายุมีผิวหนังที่แห้ง ไม่ชุ่มชื้น เนื่องจากขาดการดูแลและบำรุงผิว ข้อมูลสนับสนุน S -ผู้สูงอายุบอกว่าผิวแห้ง O –ทบสอบดู ผู้สูงอายุมีผิวแห้ง เป็นขุยๆเล็กน้อย
กิจกรรมการพยาบาล -แนะนำให้ผู้สูงอายุใช้สบู่หรือครีมอาบน้ำที่ไม่ทำลายผิว เพื่อป้องกันผิวหนัง -แนะนำให้ผู้สูงอายุทาออยด์หรือโลชั่นหลังจากอาบน้ำเสร็จ เพื่อให้ผิวชุ่มชื้น -แนะนำให้ผู้สูงอายุดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้วเพื่อทำให้ผิวชุ่มชื้นไม่แห้งกร้าน -การใช้ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการดูแลและบำรุงผิวหนัง ได้แก่ โลชั่นหรือครีม ใช้ทาบริเวณผิวหนัง โดยเป้าหมาย เพื่อป้องกันหรือบรรเทาความแห้งของผิวหนัง เนื่องจากสามารถเพิ่มปริมาณน้ำแก่ผิวหนังชั้น สตาตัมคอร์เนียม ทำให้ผิวหนังมีความเนียนนุ่ม ชุ่มชื้น เป็นการช่วยส่งเสริมความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของ ผิวหนัง
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุมีผิวหยังที่ชุ่มชื้น ไม่แห้ง กร้าน เกณฑ์การประเมินผล -ความชุ่มชื้นของผิวหนังเพิ่มขึ้น -ผิวหนังไม่เป็นขุยๆ
ทฤษฎีการสะสม (Accumulative theory) เกิดจากการรับประทานอาหารจำพวกไขมัน(มันหมู) เป็นคอเลสเตอรอลที่ไปสะสมในผนังหลอดเลือด
ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการเกิดภาวะไขมันใน เลือดสูงเนื่องจากภาวะอ้วน ข้อมูลสนับสนุน S -ผู้สูงอายุบอกว่าอ้วน -ชอบทานไขมันจากสัตว์ O -ผู้สูงอายุมีลักษณะรูปร่างอ้วน -ค่า BMI ของผู้สูงอายุเท่ากับ 25.56 แปลผล อยู่ในเกณฑ์อ้วน -ไม่ออกกำลังกาย -ชอบทานไขมันจากสัตว์
กิจกรรมการพยาบาล -บอกให้ผู้สูงอายุทราบถึงโรคแทรกซ้อนที่จะตามมา เพื่อให้ผู้สูงอายุตะหนักถึงภาวะไขมันสูง -แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการออกกำลังกายไม่เหมาะสมกับวัย -แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่ไม่มี ไขมันหรือจำกัดการบริโภคไขมัน เพื่อความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะไขมันในเลือดสูงในผู้สูงอายุ -หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง เช่นเครื่องในสัตว์ ไข่แดง หนังเป็ด หนังไก่ หอย ปู กุ้ง ปลาหมึก มันหมู มะพร้าว อาหารที่มีกะทิและถ้าหากมีไตรกลีเซอไรด์สูงด้วย ก็ควรระวังอาหารพวกแป้ง นํ้าตาล เครื่องดื่มที่มีรสหวานและผลไม้หวานจัด -รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เช่น เนื้อปลา เนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมันและนมพร่องมันเนย เป็นต้น -รับประทานอาหารที่เส้นใยมากๆ เช่น ผัก ผลไม้
เป้าหมาย -ผู้สูงอายุไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิด ไขมันมันในเลือด เกณฑ์การประเมินผล -ค่า BMI ลดลงจากเดิม -ลักษณะรูปร่างผอมลงจากเดิม -ทานไขมันจากสัตว์ลดลงหรือไม่รับประทานเลย