การศึกษาความเพียงพอของแสงสว่างในห้องเรียนที่มีผลต่อความรู้สึกเมื่อยล้าทางสายตาของนักศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
5. สมมติฐานและกรอบแนวความคิดในการวิจัย
2. แสงสว่างในห้องเรียนไม่เพียงพอส่งผลให้ประสิทธิภาพการเรียน การทำกิจกรรมของนักศึกษาลดลง
1. ความเพียงพอของแสงสว่างในห้องเรียนมีอิทธิพลต่อความรู้สึกเมื่อยล้าทางสายตาของนักศึกษา
4. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เครื่องวัดแสง (Lux Meter)
เกณฑ์การประเมินความสบายด้านการมองเห็น
ความสบายด้านการมองเห็น
การส่องสว่างภายในสถานศึกษา
3. คำถามของการวิจัย
ความเพียงพอของแสงสว่างในห้องเรียนมีผลต่อประสิทธิภาพการเรียน การทำกิจกรรมของนักศึกษาในห้องเรียนอย่างไร
2. ความเพียงพอของแสงสว่างในห้องเรียนส่งผลดีต่อประสิทธิภาพการอ่านเขียนของนักศึกษาในห้องเรียนมีลักษณะอย่างไร
1. ความเพียงพอของแสงสว่างในห้องเรียนส่งผลดีต่อประสิทธิภาพทางสายตาของนักศึกษาในห้องเรียนมีลักษณะอย่างไร
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
3. เพื่อเสนอแนวทางการออกแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างให้เพียงพอต่อพื้นที่
2. เพื่อประเมินระดับความเข้มของแสงสว่างในห้องเรียนภายในอาคารเรียนรวม 7 ว่ามีผลต่อประสิทธิภาพการเรียน การทำกิจกรรมของนักศึกษาหรือไม่
1. เพื่อศึกษาลักษณะปัญหาของสภาพแสงสว่างในห้องเรียนที่มีผลต่อความรู้สึกเมื่อยล้าทางสายตาของนักศึกษา ทั้งในด้านระดับความส่องสว่างและความเพียงพอของแสงสว่าง
1. ที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
ระดับความสว่างที่เหมาะสมในห้องเรียนคือ 300-750 Lux
หากแสงสว่างไม่เพียงพอจะส่งผลให้เกิดความเมื่อยล้าทางสายตา
การศึกษาและเรียนรู้จำเป็นต้องใช้แสงสว่างที่เพียงพอ
แสงสว่างมีความสำคัญต่อการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน
9. ระเบียบวิธีวิจัย
3. ระยะเวลาทำการวิจัย
เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2563
2. การวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลออกมาในรูปแบบร้อยละ มีการบรรยายในรูปแบบของตาราง แผนภูมิวงกลม และแผนภูมิแท่ง
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล
2. ร่างแบบสำรวจ โดยคำถามในแบบสำรวจสามารถเข้าใจได้ง่าย ครอบคลุมเนื้อหาและกรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้
1. ศึกษาเอกสาร ข้อมูล หนังสือที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาออกแบบแบบสอบถามที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้
8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
3. สามารถออกแบบการติดตั้งอุปกรณ์ส่องสว่างให้เพียงพอต่อพื้นที่
2. สามารถประเมินระดับความเข้มของแสงสว่างในห้องเรียนภายในอาคารเรียนรวม 7 ว่ามีผลต่อประสิทธิภาพต่อการเรียน การทำกิจกรรมของนักศึกษาหรือไม่
1. สามารถวิเคราะห์ลักษณะปัญหาของสภาพแสงสว่างในห้องเรียนที่มีผลต่อความรู้สึกเมื่อยล้าทางสายตาของนักศึกษา ทั้งในด้านระดับความส่องสว่างและความเพียงพอของแสงสว่าง
7. การให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย
ประสิทธิภาพในการมองเห็น หมายถึง สภาวะที่มีแสงสว่างเพียงพอต่อการมองเห็น ถ้าแสงน้อยเกินไปจะมีผลเสียต่อสายตา ทำให้การมองเห็นนั้นไม่ชัดเจน และแสงสว่างที่มากเกินไปจะทําให้นักศึกษาเกิดอาการเมื่อยล้า ปวด แสบตา ศีรษะวิงเวียน
เมื่อยล้าทางสายตา หมายถึง การใช้สายตาอย่างหนักเป็นระยะเวลานานติดต่อกัน ที่เป็นสาเหตุเกิดจากแสงไม่เพียงพอ และแสงมากจนเกินไป
ความสว่าง หมายถึง ปริมาณแสงที่สะท้อนออกจากพื้นผิวใดๆ ในทิศทางใดทิศทางหนึ่งต่อพื้นที่ เพื่อใช้ในการกําหนดความสว่างของภายในอาคารอย่างทั่วถึง
6. ขอบเขตของการวิจัย
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แบบสอบถาม Google Form
ส่วนที่ 2 แบบสำรวจ การศึกษาความเพียงพอของแสงสว่างในห้องเรียน โดยใช้การประเมินด้วยความพึงพอใจ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ ชั้นปีการศึกษา สาขาวิชา ห้องเรียนที่เคยใช้ในอาคารเรียนรวม 7
1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
3. ช่วงเวลาที่ใช้ในการวิจัยคือ 08.00 - 17.00 น.
2. ห้องเรียนที่ใช้ในการวิจัยคือ ห้องเรียนภายในอาคารเรียนรวม 7 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษาสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 100 คน