类别 全部 - การประเมิน - สารสนเทศ - เนื้อหา - การวิเคราะห์

作者:phatthapon narksuwan 5 年以前

531

บทที่ 6 การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

การประเมินและวิเคราะห์สารสนเทศเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและต้องใช้หลักเกณฑ์หลายประการ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีคุณภาพและน่าเชื่อถือ ควรพิจารณาขอบเขตและเนื้อหาว่าครอบคลุมหัวข้อที่ต้องการหรือไม่ รวมถึงช่วงเวลาที่เผยแพร่และแหล่งที่มาของสารสนเทศซึ่งอาจต้องพิจารณาผู้แต่งและสำนักพิมพ์ด้วย นอกจากนี้ ความถูกต้องและความเที่ยงตรงของข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญ ต้องเปรียบเทียบกับแหล่งข้อมูลอื่นๆ และตรวจสอบว่ามีการอ้างอิงและบรรณานุกรมหรือไม่ การบันทึกและจัดกลุ่มเนื้อหาเป็นอีกขั้นตอนที่ช่วยให้การเรียบเรียงรายงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นระบบ โดยการดึงเนื้อหาที่สอดคล้องกับแนวคิดที่ต้องการศึกษาแล้วบันทึกลงบัตรบันทึก จะทำให้การจัดกลุ่มและการเรียบเรียงเนื้อหาในรายงานสะดวกและชัดเจนมากขึ้น

บทที่ 6
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

บทที่ 6 การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

Use this mind map structure to discover unseen connections, generate new ideas and reach a better understanding of any given subject.

การวิเคราะห์สารสนเทศ

ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ
1.อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง 2.พิจารณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆที่ต้องการจะศึกษา 3.บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ 4.จัดกลุ่มเนื้อหา
บัตรบันทึกความรู้
วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา

3.แบบถอดความ

2.แบบคัดลอกข้อความ

1.แบบย่อความหรือสรุปความ

ส่วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้ 1.หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า ลงไว้ที่หัวมุมบนขวาของบัตร 2.แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม 3.เลขหน้าที่ปรากฏองข้อมูล 4.ข้อความที่บันทึก
บัตรบันทึกความรู้ คือ บัตรแข็งขนาด 5*8 หรือ 4*6 หรือกระดาษรายงาน พับครึ่งใช้บันทึกข้อมูลที่ต้องการ ควรจดบันทึกเฉพาะตอนที่จะเกี่ยวข้องกับเนื้อหาตามโครงเรื่องที่กำหนดไว้
การบันทึก เป็นการเขียนเรื่องราว ข้อความ ข้อเท้จจริงต่างๆที่ได้รับจากการฟังการอ่านเพื่อเตือนความจำ หรือศึกษาค้นคว้า
รูปแบบบัตรบันทึก ตาม PPT
กระบวนการของการวิเคราะห์สารสนเทศ
4.นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิดเพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหาของรานงานต่อไป
3.ทำการบันทึกเนื้อหาลงในบัตรบันทึก
2.ดุึงเนื้อหาของสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆที่เราต้องการศึกษา
1.การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ ที่ผ่านการประเมินแล้ว่า สามารถนำมาใช้งานได้จริงๆ
ความหมายของการวิเคราะฆืสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัฐและสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออกเป็นกลุ่มย่อยๆ โดยให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันหรือที่ค้รได้จากคำสำคัญเดียวกันอยู่ด้วยกัน

การสังเคราะห์สารสนเทศ

In the conclusion you should have a brief summary of your key points.

ขั้นตอนในการสังเคราะห์มีดังนี้

Emphasize how you managed to defend your main idea and goals along the essay.

การจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของแนวคิด/เรื่อง
การเขียนบรรณานุกรมและอ้างอิง
การวางโครงร่าง

เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดและขอบแบตของเรื่อง จัดลำดับหัวข้อให้มีความสัมพันพ์กัน และต่อเนื่องกัน

องค์ประกอบในการวางโครงร่าง 1.บทนำ 2.เนื้อหา 3.บทสรุป

วิธีการจัดสารสนเทศ สามารถทำได้แบบง่ายๆ ดังนี้ 1.นำเอกสารหรือข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งต่างๆที่ได้ มาอ่านอีกครั้ง 2.ทำตำสำคัญ ที่ประโยคหรือข้อมูลที่สำคัญที่จะใช้ 3.ลองจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของเรื่องหรือข้อมูล โดยการใส่ตัวเลข หรือตัวอักษรที่ข้อความนั้นๆ 4.จัดเรียงข้อมูลที่ได้เพื่อจัดกลุ่มใหม่อีกครั้ง (หรืออาจะเขียนเป้นฌครงร่าง เพื่อให้เห็นลำดับชั้นความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของข้อมูล) 5.จะได้กลุ่มข้อมูล หรือโครงร่างคร่าวๆที่มองเห็นภาพรวมของข้อมูลหรือคำตอบทั้งหมด (ใส่ข้อมูล มุมมอง เรียงบเรียงข้อมูลด้วยภาษาของตนเอง)
กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ 1.จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน 2.นำสารสนเทศที่มีแยวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับชั้น 3.นำแนวคิดต่างๆที่เราได้สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่มของแนวคิด มารวบรวมเป้นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง 4.ประเมินโครงร่างที่ได้ ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่ 5.ครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่
การนำเสนอสารสนเทศ/การนำเสนอผล -ขั้นตอนนี้มีความเชื่อมโนงกันระหว่าง ขั้นตอนที่1 (ตอนแรกตั้งจุดประสงค์ไว้ว่าอย่างไร/สามารถปรับในภายหลังได้) -ต้องพิจารณาด้วยว่ารูปแบบที่ใช่เหมาะสมกับหัวข้อหรือปัญหาที่ได้รับหรือไม่ รูปแบบการนำเสนอ -ปัจจุบันมีหลายทางเลือกที่ใช้ในการนำเสนอ -เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญมากขึ้น เพราะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราสามารถนำเสนอความคิดเห็นและสารสนเทศผ่านรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น Word PPT Video เป็นต้น ตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอ -นิทรรศการ -รายงาน -โครงงาน -บอร์ด -สไลด์ -การแสดงละคร เป็นต้น
การจัดสารสนเทศโดยทั่วไป
-จัดกลุ่ม (ประเด็นใหญ่/ประเด็นย่อย) -เรียงตามลำดับตัวอักษร -ตามลำดับเวลา (เช่น เหตุการณ์) -ตั้งแต่ต้นจนจบ (เช่น สตอรี่) -ใช้หลายๆวิธีข้างต้นผสมผสานกัน
-การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกัน หรือแนวคิดเดียวกันไว้ด้วยกัน -แล้วนำมาจัดกลุ่มอีกครั้ง ในลักษณะลำดับชั้น หรือ รูปแบบของโครงร่าง -ซึ่งจะทำให้เห็นความสัมพันฑฺของกลุ่มข้อมูล -แล้วรอบรวมหรือสรุปให้ได้ข้อมูล/เนื้อหาใหม่ ด้วยการใช้ สำนวน ภาษาของตนเองที่มีความถูกต้อง -ตลอดจนนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม -เพื่อแก้ไขปัญหา ตอบคำถามที่กำหนดไว้ -หรือนำไปใช้ตรงกับความต้องการ

การประเมินสารสนเทศ

หลักการประเมินสารสนเทศ
พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด

1.สารสนเทศปฐมภูมิ 2.สารสนเทศทุติยภูมิ 3.สารสนเทศตติยภูมิ

พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่
ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ เป้นขั้นตอนในการประเมินเพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่เราได้จากการสืบค้นที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือในทางวิชาการ เป้นการพิจารณาคัดเลือกจากแหล่งสารสนเทศต่างๆทั้งจาก ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต เป้นต้น
ความหมายของการประเมินสารสนเทศ คือ การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้น สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุกประเด็น มีคำอธิบายที่เป้นเหตุเป้นผลและมีเอกสารอ้างอิงที่มความน่าเชื่อถือเพียงใด

การเลือกใช้สารสนเทศ

การนำสารสนเทศที่ค้นคว่าได้ไปใช้เพื่อทำรายงานหรือบทนิพนธ์ต้องผ่านกระบวนการ 3 ขั้นตอน
3.การสังเคราะห์สารสนเทศ
2.การวิเคราะห์สารสนเทศ
1.การประเมินสารสนเทศ

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

The key points are the arguments which will support your thesis. These can be agreeing arguments or disagreeing arguments too, in each case they need to reflect on the main idea.

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

8.มีความทันสมัน เป็นปัจจุบัน
7.ทันต่อความต้องการใช้
6..ตรวจสอบได้
5.เข้าถึงได้งาย
4.สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
3.ต้องมีความสมบูรณ์
2.มีความน่าเชื่อถือ
1.ต้องมีความความถูกต้อง

In the introduction you should state the ideas what you want to defend along the essay.