Kategorier: Alla - การพัฒนา - เครือข่าย - การเรียนรู้ - ความรู้

av Kanittha Rabbampoeng för 6 årar sedan

112

Knowledg Society

สังคมแห่งการเรียนรู้เน้นการเข้าถึงและพัฒนาความรู้โดยไม่มีข้อจำกัดทางขนาดและสถานที่ ตั้งเป้าหมายให้ประชาชนทุกคนได้รับโอกาสในการพัฒนาโดยมีสถาบันทางสังคมและกลุ่มภาคประชาชนเป็นตัวหลักในการริเริ่มและดำเนินการ นอกจากนี้ยังเน้นการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ รวมถึงการสร้างเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้เป็นหน้าที่ของทั้งบุคคลและชุมชนโดยรวม

สังคมความรู้แบ่งเป็นสองยุค ยุคแรกเน้นการเข้าถึง การประเมิน การตีค่า การทำให้ง่ายต่อการใช้ และการกระจายความรู้ ยุคที่สองเน้นการสะสม ถ่ายโอน สร้างสรรค์ และประยุกต์ใช้ความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ประกอบด้วยการบ่งชี้ การสร้าง การจัดระบบ การประมวลผล การเข้าถึง และการแบ่งปันความรู้ในองค์กร การเรียนรู้ควรเป็นส่วนหนึ่งของงานเพื่อให้การพัฒนาความรู้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

Knowledg Society

Knowledg Society

กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้

5.การเข้าถึงความรู้

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)
2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้
1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคล

Sutopic

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

1. ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
2. เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3. ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

4. สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)

5. มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

6. มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

7. มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

8. การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

9. สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

10. ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

11. ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค

สังคมความรู้ยุคที่ 2
1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

สังคมความรู้ยุคที่ 1
1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของ จริงและของหลอก

3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมี ความคุ้มค่าหรือไม่

4) Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมา เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง

5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้

สังคมความรู้

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก ความรู้ที่มีบุคลากรท างานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง


สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค

 สังคมความรู้ยุคที่ 1

1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของ จริงและของหลอก

3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมี ความคุ้มค่าหรือไม่

4) Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมา เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง

5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้


 สังคมความรู้ยุคที่ 2

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม


3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)

3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน 


4. ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)

1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคล

2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้


5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge) กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้น ภายในองค์กรซึ่งมีดังนี้

1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้

5.การเข้าถึงความรู้

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง