Kategorier: Alla - ทฤษฎี - กระบวนการ - การวิจัย - ตัวแปร

av Habibah kahong för 5 årar sedan

521

ความรู้พื้นฐานของงานวิจัย Foudation of research

การวิจัยเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรุปผลและคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนและใช้ทฤษฎีหรือหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการดำเนินการ การวิจัยสามารถแบ่งประเภทตามลักษณะต่างๆ เช่น ตามเวลาใช้ในการวิจัย, ตามการจัดกระทำ, ตามประโยชน์ที่ได้รับ, ตามเป้าหมายหลัก, ตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์, และตามความลึกหรือความกว้างของข้อมูล ทั้งนี้ การวิจัยต้องการความเชื่อมั่น, ความเที่ยงตรง, และการใช้ศักยภาพของผู้วิจัยอย่างเต็มที่ นอกจากนี้ การวิจัยยังมีลักษณะที่เป็นระบบและเชิงประจักษ์ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลที่เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ การวิจัยมีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาและพัฒนาความรู้ในหลากหลายสาขาวิชา ทั้งทางสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์

ความรู้พื้นฐานของงานวิจัย Foudation of research

ความรู้พื้นฐานของงานวิจัย Foudation of research

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

ระบุขั้นการวิจัยได้
เลือกรูปแบบการวิจัยเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
จาแนกการวิจัยประเภทต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
อธิบายความหมายและคุณลักษณะของการวิจัยได้
เขียนโครงร่างวิจัยได้

ประเภทของการวิจัย

ประเภทของการวิจัยจาแนกตามการจัดกระทำ
การวิจัยกึ่งทดลอง
การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง
การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น
จาแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย จาแนกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร
การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร
จาแนกตามเวลาที่ใช้ในการทาวิจัย จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
การวิจัยแบบต่อเนื่อง
การวิจัยแบบตัดขวาง
จาแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์ จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
การวิจัยทางสังคมศาสตร์
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์
จาแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงปริมาณ
จาแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
การวิจัยเชิงบรรยาย
จาแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
การวิจัยการนาไปใช้

คุณลักษณะของการวิจัย

การวิจัย เป็นวิธีการ ๆ หนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความจริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน และมีการกาหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร ที่ผู้วิจัยจะใช้เป็นแนวทางในการแสวงหาคาตอบ เพื่อใช้อธิบาย พยากรณ์ และควบคุมปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น

ความหมายของการวิจัย

เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนามาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อนาไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็นกฎ ทฤษฏี หรือนาไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยาและเชื่อถือได้

คำศัพท์

การเขียนคาถามวิจัย (Research Questions)
จาแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology)
การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research)
การวิจัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research)
การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น(Pre Experimental Research)
ตัวแปรอิสระ (independent variable)
ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable)
สมมติฐาน (hypothesis)
สมมติฐานแบบมีทิศทาง (directional hypothesis)
สมมติฐานทางวิจัย (research hypothesis)

ธรรมชาติของการวิจัย

การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์
การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
การวิจัยมีความเชื่อมั่น
การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา
การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย
การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่
การวิจัยมีเหตุผล
การวิจัยมีความเที่ยงตรง
การวิจัยเป็นการดาเนินการที่เป็นระบบ

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ
กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ
กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ
กฎเหตุและผลของธรรมชาติ

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่นาผลสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากร
การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล
เป้าหมายของการวิจัย