Kategorier: Alla - สถิติ - ความสัมพันธ์ - การวิเคราะห์ - ตัวแปร

av Pattayanee Sangkhanukit för 5 årar sedan

541

สถิติพื้นฐาน และการเก็บรวบรวมข้อมูล

การศึกษาสถิติมีวัตถุประสงค์เพื่อพรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาสถิติแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่ นามบัญญัติ อัตราส่วน อันตรภาค และเรียงอันดับ การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์สถิติสามารถใช้ทั้งตัวแปรเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมเรียกว่า ข้อมูลทางสถิติ การวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยประกอบด้วยการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัว เช่น Univariate, Multivariate และ Bivariate นอกจากนี้ การวิเคราะห์สถิติยังแบ่งเป็นสถิติพารามิเตอร์และสถิติไร้พารามิเตอร์ ซึ่งใช้เครื่องมือและวิธีการที่แตกต่างกันตามลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของการวิจัย สถิติพารามิเตอร์มักใช้กับข้อมูลที่มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติและใช้เทคนิคเช่น t-test, Z-test, ANOVA, และ Regression ขณะที่สถิติไร้พารามิเตอร์ใช้กับข้อมูลที่ไม่จำเป็นต้องมีการแจกแจงแบบปกติ

สถิติพื้นฐาน
และการเก็บรวบรวมข้อมูล

สถิติพื้นฐาน และการเก็บรวบรวมข้อมูล

05 ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล
รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตาม
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด (Level of Measurement)
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

06 หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

ตีความหมาย
แปลผลค่าสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง
เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือ ที่วงวิชาการยอมรับ
หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก

07 ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิติ

ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด
ตัวแปรอัตราส่วน(Ratio)
ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค(Interval)
ตัวแปรอันดับ(Ordinal)
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด(Norminal)
ประเภทตัวแปรตามบทบาท
***ตัวแปรควบคุม คือ ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลอง อาจทำให้การทดลองคลาดเคลื่อน จึงต้องควบคุมไว้
ตัวแปรตาม(Dependent Variables) คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือผลของตัวแปรต้น
ตัวแปรอิสระ(Independent Variables) คือ ตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน เป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา

08 การใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ตัวแปรในการวิจัย

การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปร (Univariate และ Multivariate)
วัตถุประสงค์ของการใช้สถิติหลายตัวแปร คือ เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยมีตัวแปรอิสระมากกว่าหนึ่งตัว
การวิเคราะห์สถิติสองตัวแปร (Bivariate)
3) ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ
2) ตัวแปรอิสระเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ
1) ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ

04 วัตถุประสงค์การใช้สถิติ

ศึกษาการประมาณค่า หรือการพยากรณ์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

03 ประเภทของสถิติ

Inferential Statistics
สถิติไร้พารามิเตอร์(Nonparametric Statistics)

เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้ โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้น ทั้ง 3 ประการข้างต้น สถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น ไคสแควร์, Median Test

สถิติพารามิเตอร์(Parametric Statistics)

การเขียนแสดงค่าใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์

ประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน ใช้ t-test, Z-test, ANOVA,Regression ฯลฯ

มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ

ข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป (Interval Scale)

วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร
Descriptive Statistics
สถิติที่ใช้

ค่าพิสัย

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ค่าฐานนิยม

ค่ามัธยฐาน

ค่าเฉลี่ย

เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูล

02 ประเภทของข้อมูล

อัตราส่วน (Ratio Scale)
มีจุดเริ่มต้นจาก 0
อันตรภาค (Interval Scale)
มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน
บอกระดับความมากน้อย หรือเรียงลำดับได้
เรียงอันดับ (Ordinal Scale)
บอกระดับความมากน้อย หรือเรียงลำดับได้ เช่น ตัวแปรวุฒิการศึกษา(ประถม มัธยม)
จัดเป็นกลุ่มได้
นามบัญญัติ (Nominal Scale)
จัดเป็นกลุ่มได้ เช่น ตัวแปรเพศ (ชาย หญิง)

01 คำจำกัดความของสถิติ

ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์
ตัวเลขแทนปริมาณจำนวนข้อมูล หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ
ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ข้อมูลทางสถิติ(Statistical data)