Категории: Все - เครือข่าย - คอมพิวเตอร์ - ข้อมูล

по Aim Jubpoi 6 лет назад

550

unit6

การเชื่อมโยงเครือข่ายในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มีรูปแบบที่หลากหลายซึ่งส่งผลต่อการส่งข้อมูลและการทำงานของระบบโดยรวม โทโปโลยีแบบวงแหวนเป็นรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม ข้อดีคือสามารถส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกันและไม่มีการชนกันของสัญญาณ แต่ข้อเสียคือการตรวจสอบจุดเสียค่อนข้างยากและหากเครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียหายจะทำให้ข้อมูลไม่สามารถส่งผ่านไปยังเครื่องอื่นได้ โทโปโลยีแบบบัสใช้สายแกนหลักในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ข้อดีคือการเพิ่มโหนดทำได้ง่ายและโครงสร้างไม่ซับซ้อน แต่ข้อเสียคือหากสายแกนหลักขาดระบบทั้งระบบจะหยุดทำงาน โทโปโลยีแบบดาวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับฮับ ข้อดีคือมีความคงทนสูงและการวิเคราะห์จุดเสียทำได้ง่าย แต่หากฮับเสียหายเครือข่ายจะหยุดทำงานทันที

unit6

รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ายและ ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN)

ลักษณะการเชื่อมโยงเครือข่าย

แบบจุดต่อจุด

ไม่เหมาะกับการส่งข้อมูลครั้งละมากๆ

หากสายส่งข้อมูลขาดจะส่งผลกระทบต่อเครือข่าย

ต้องมีกลไกควบคุมการส่งข้อมูล

เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายที่ใช้เส้นทาง หรือลิงค์เพื่อการสื่อสารร่วมกัน

สามารถเพิ่มโหนดได้ทันที

แบบหลายจุดต่อจุด

จำนวนโหนดมากต้องใช้สายมากขึ้น

ไม่เหมาะกับเครือข่ายขนาดใหญ่

เป็นการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เท่านั้น

ความเร็วสูง

มีความปลอดภัยในข้อมูล

รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย(topology)

โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)

เสียเวลาจากการที่รีพีตเตอร์(Repeater) จะต้องทำการตรวจสอบตำแหน่งปลายทางของข้อมูลทุกข้อมูล

ถ้ามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหายข้อมูลจะไม่สามารถส่งผ่านไปยังเครื่องต่อ ๆ ไปได้

เป็นรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ( Server) และ เครื่องที่เป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน

ส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน

ไม่มีการชนกันของสัญญาณ

ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลายๆ เครื่องพร้อมๆ กัน

โทโปโลยีแบบเมช (Mesh Topology)

มีข้อจำกัดในการนำไปต่อกับโทโปโลยีอื่น ๆ

ต้องใช้สายเคเบิลจ านวนมากในการต่อ

ยากต่อการติดตั้ง

เป็นรูปแบบที่ถือว่าป้องกันการผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุดมีการทำงานโดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีช่องสัญญาณจำนวนมาก เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ทุกเครื่อง

ตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย

มีความปลอดภัยสูง

ถ้ามีสายเส้นหนึ่งเส้นใดเสียหาย จะไม่ส่งผลต่อระบบ

ลดปัญหาการจราจรภายในเครือข่าย

โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)

ตรวจสอบจุดเสียค่อนข้างยาก

หากสายแกนหลักขาด เครือข่ายทั้งระบบจะหยุดการทำงาน

แต่ละโหนดที่เชื่อมต่อบนเครือข่ายจะต้องอยู่ห่างกันตามข้อกำหนด

เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่านสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่าบัส (BUS) หรือ แบ็คโบน (Backbone)คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก
ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ

มีรูปแบบโครงสร้างไม่ซับซ้อน

การเพิ่มโหนดสามารถเพิ่มเข้ากับสายแกนหลักได้ทันที

ประหยัดสายส่งข้อมูล

โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology)
ข้อเสีย

สิ้นเปลืองสายเคเบิล

พอร์ตเชื่อมต่อบนฮับมีจำนวนจำกัด

หากอุปกรณ์ฮับเสียหาย เครือข่ายจะหยุดทำงานทันที

โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) เป็นรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB)
ข้อดี

มีความคงทนสูงกว่าแบบบัส

การวิเคราะห์จุดเสียบนเครือข่ายทำได้ง่ายกว่า

ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Networks: LAN)

ไอบีเอ็มโทเคนริง (Token Ring)
ภายในวงแหวนไปเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงโหนดปลายทางที่ต้องการ
ในช่วงเวลาหนึ่งจะมีเพียงโหนดเดียวที่สามารถส่งข้อมูลในขณะนั้น นั่นก็คือโหนดที่ครอบครองโทเค็น โดยโทเค็นจะไปพร้อมกับข้อมูลที่ส่งไปยังโหนดภายในวงแหวน หากโหนดใดได้รับข้อมูลพร้อมรหัสโทเค็น แล้วตรวจสอบพบว่าไม่ใช่ข้อมูลที่ส่งมายังตน ก็จะส่งทอดไปยังโหนดถัดไป
ไม่ก่อให้เกิดการชนกันของกลุ่มข้อมูลเลย
อีเทอร์เน็ต (Ethernet)
10Base2

ใช้เทอร์มิเนเตอร์ที่มีความต้านทานทางไฟฟ้า 50 โอห์ม

ใช้การ์ดเครือข่ายที่มีซอกเก็ตแบบ BNC

ภายในหนึ่งเซกเมนต์เชื่อมต่อโหนดได้ไม่เกิน 30 เครื่อง และหากใช้รีพีตเตอร์เพื่อเพิ่มระยะทาง ก็จะสามารถขยายได้สูงสุด 5 เซกเมนต์ รวมระยะทางประมาณ 1,000 เมตร

แต่ละโหนดที่ติดตั้งต้องห่างกันอย่างน้อย 0.5 เมตร

ระยะไกลสุดในการเชื่อมต่อหนึ่งเซกเมนต์คือ 185 เมตร

ใช้สายโคแอกเชียลแบบบาง รหัส RG-58 A/U

10Base5

ใช้เทอร์มิเนเตอร์แบบ N-Series ที่มีความต้านทานทางไฟฟ้า 50 โอห์ม

ภายในหนึ่งเซกเมนต์ เชื่อมต่อโหนดได้ไม่เกิน 100 เครื่อง และหากใช้รีพีตเตอร์เพื่อเพิ่มระยะทาง ก็จะสามารถขยายได้สูงสุด 5 เซกเมนต์ รวมเป็นระยะทาง 2,500 เมตร

Subtopic

ระยะไกลสุดในการเชื่อมโยงต่อหนึ่งเซกเมนต์คือ 500 เมตร

ความเร็วในการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที

ใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา รหัส RJ-8

แต่ละโหนดที่ติดตั้งบนสาย ต้องห่างกัน 2.5 เมตร

ใช้การ์ดเครือข่ายที่มีซ็อกเก็ตแบบ AUI

10BaseT

ส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์

ความเร็วในการส่งข้อมูล 10 เมกกะบิตต่อวินาที ส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์

ใช้สายเคเบิลชนิดยุทีพี รหัส CAT-3 หรือ CAT-5

มีอุปกรณ์ฮับเป็นศูนย์กลางรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย

ระยะสูงสุดในการเชื่อมโยงต่อหนึ่งเซกเมนต์ หรือจากฮับไปยังโหนดยาวได้ไม่เกิน 100 เมตร

ภายในหนึ่งเซกเมนต์เชื่อมต่อโหนดได้หลายร้อยเครื่อง

ใช้การ์ดเครือข่ายที่มีซอกเก็ตแบบ RJ-45

เอฟดีดีไอ (Fiber Distributed Data Interface: FDDI)
วงแหวนทุติยภูมิ (Secondary Ring)

วงแหวนสำรองที่อยู่ด้านในโทเค็นที่อยู่วงแหวนด้านในจะวิ่งในทิศทางตรงกันข้ามกับวงแหวนด้านนอก โดยวงแหวนทุติยภูมิจะถูกใช้งานเมื่อวงแหวนปฐมภูมิเกิดปัญหา

วงแหวนปฐมภูมิ (Primary Ring)

วงแหวนหลักด้านนอก ซึ่งเป็นสายส่งข้อมูลหลักภายในเครือข่าย โดยรหัสโทเค็นจะวิ่งรอบวงแหวนทิศทางใดทิศทางหนึ่ง

ไวเลสแลน (Wireless LAN)
เหมาะกับการใช้งานที่ต้องการความสะดวกในการเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ มีความคล่องตัวสูง คลื่นวิทยุมีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวาง
เป็นระบบที่ใช้การรับส่งข้อมูลผ่านทางคลื่นวิทยุโดยส่งผ่านทางอากาศ ไม่ต้องใช้สายสัญญาณใดๆ เหมาะกับการใช้งานที่ต้องการความสะดวกในการเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ มีความคล่องตัวสูง คลื่นวิทยุมีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวาง
มาตรฐาน IEEE

มาตรฐาน 802.11g

รับส่งข้อมูลสูงถึง 54 เมกกะบิตต่อวินาทีใช้คลื่นความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์ (GHz)

มาตรฐาน 802.11b

รับส่งข้อมูลได้สูงถึง 11 เมกกะบิตต่อวินาที ใช้คลื่นความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์ (GHz)

มาตรฐาน 802.11a

รับส่งข้อมูลได้สูงถึง 54 เมกกะบิตต่อวินาทีใช้คลื่นความถี่ที่ 5 กิกะเฮิรตซ์