Категории: Все - วัฒนธรรม - ศาสนา - การศึกษา

по มลธิตา พรหมยา 5 лет назад

424

Conceptual andTheoretical of Population

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับประชากรมีความหลากหลายตามบริบททางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น แนวคิดในยุคกรีกโบราณโดย Plato และ Aristotle เน้นการกำหนดจำนวนประชากรที่เหมาะสมเพื่อการปกป้องนครรัฐ ขณะที่แนวคิดของฮีบรูสนับสนุนการมีบุตรจำนวนมากเพื่อขยายประชากร ด้านการศึกษาและประสบการณ์ชีวิตก็มีบทบาทในการพัฒนาความรู้และความเข้าใจของบุคคลในสังคมที่แตกต่างกัน อาชีพและลักษณะการรวมกลุ่มของบุคคลยังสามารถบ่งบอกลักษณะเฉพาะตัว เช่น กลุ่มชาวนาที่สนใจเรื่องข้าวและปุ๋ย นอกจากนี้ การเพิ่มจำนวนประชากรยังมีผลกระทบต่อมาตรฐานการครองชีพและผลผลิตต่อหัว พร้อมทั้งแนวคิดในยุคจักรวรรดิโรมันและสำนักลัทธิพาณิชย์นิยมที่ให้ความสำคัญในการเพิ่มประชากรเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การเมือง และการทหาร

Conceptual andTheoretical of Population

Conceptual andTheoretical of Population

Conceptual and Theoretical of Population

CHARACTERISTIC (เฉพาะตัว)

RELIGION (ศาสนา)
เช่น ศาสนาพุทธ อิสลาม หรือศาสนาคริสต์ หรืออื่นๆ ย่อมมี แนวคดิ วฒันธรรม ประเพณี และหลกัการในการคดิตดัสินใจต่อการรับสารแตกต่าง กนัตามรายละเอยีดปลกีย่อยของศาสนา
OCCUPATION (อาชีพ)
ลักษณะอาชีพหรือลักษณะแห่งการรวมกลุ่ม จะบ่งบอกลกัษณะเฉพาะของ บุคคล

เช่น กลุ่มชาวนา ก็จะสนใจ เกี่ยวกับเรื่องข้าว ราคาข้าว ปุ๋ย เป็นต้น

EDUCATION ( การศึกษา)
การศึกษา ในที่นี้หมายถึงระดับการศึกษาที่ ได้รับจากสถาบันการศึกษา และที่ได้รับจาก ประสบการณ์ของชีวิต ระดบัการศึกษา จะทา ให้คนมีความรู้ ความคิด ตลอดจนความเข้าใจในสิ่งต่างๆ กว้างขวาง ลึกซึ้งแตกต่างกันออกไป

 การศึกษา ในที่นี้หมายถึงระดับการศึกษาที่ ได้รับจากสถาบันการศึกษา และที่ได้รับจาก ประสบการณ์ของชีวิต

 ระดบัการศึกษา จะทา ให้คนมีความรู้ ความคิด ตลอดจนความเข้าใจในสิ่งต่างๆ กว้างขวาง ลึกซึ้งแตกต่างกันออกไป

Theoretical of Population (ทฤษฎีประชากร)

มาร์กซ์และเอนเจลส์ ไม่เห็นด้วยเพราะการเปลี่ยนแปลงประชากรไม่สามารถกำหนดรูปแบบที่แน่นอนได้ แต่การปฏิรูปสังคมจะทำให้พฤติกรรมการเจริญพันธ์เปลี่ยนแปลงด้วย

Subtopic
การเปลี่ยนแปลงประชากร
ลดจำนวนประชากร อัตราตายต่ำ อัตราเกิดต่ำกว่าอัตราตาย อัตราเพิ่มต่ำกว่าศูนย์
อัตราเพิ่มต่ำ อัตราเกิดต่ำ อัตราตายต่ำ อัตราเพิ่มต่ำ

ลดจำนวนประชากร

อัตราตายต่ำ อัตราเกิดต่ำกว่าอัตราตาย อัตราเพิ่มต่ำกว่าศูนย์

อัตราเพิ่มช่วงปลาย อัตราเกิดเริ่มลดลง อัตราตายต่ำ อัตราเพิ่มสูง

อัตราเพิ่มต่ำ

อัตราเกิดต่ำ อัตราตายต่ำ อัตราเพิ่มต่ำ

อัตราเพิ่มช่วงต้น อัตราเกิดสูง อัตราตายเริ่มลดลง อัตราเพิ่มเริ่มสูงขึ้น

อัตราเพิ่มช่วงต้น

อัตราเกิดสูง อัตราตายเริ่มลดลง อัตราเพิ่มเริ่มสูงขึ้น

ภาวะประชากรคงที่ อัตราเกิดสูง อัตราตายสูง อัตราเพิ่มต่ำ

ภาวะประชากรคงที่

อัตราเกิดสูง อัตราตายสูง อัตราเพิ่มต่ำ

ทฤษฏีสังคมนิยม - การเพิ่มผลผลิต - การจัดระเบียบสังคม - ความร่วมมือกับสังคม - การวางแผนสำหรับอนาคต

ทฤษฏีสังคมนิยม

การเพิ่มผลผลิต

การจัดระเบียบสังคม

ความร่วมมือกับสังคม

การวางแผนสำหรับอนาคต

Thomas Robert Malthus มัลธัสผู้ตั้งทฤษฎีนี้เป็นนักเศรษฐศาสตร์และนักบวชชาวอังกฤษ กฎการเพิ่มอาหารแบบอนุกรมเรขาคริตและการเพิ่มประชากรแบบอนุกรมเรขาคณิต

Thomas Robert Malthus

มัลธัสผู้ตั้งทฤษฎีนี้เป็นนักเศรษฐศาสตร์และนักบวชชาวอังกฤษ

กฎการเพิ่มอาหารแบบอนุกรมเรขาคริตและการเพิ่มประชากรแบบอนุกรมเรขาคณิต

WORLD POPULATION

factors
Migration
Mortality
Fertility

Concept of Population (แนวคิดเรื่องประชากร)

แนวคิดของนักปราชญ์จีนโบราณ
- การสมรสก่อนการมีระดับวุฒิภาวะที่เหมาะสม ทำให้อัตราตายของทารกสูง - อัตราของประชากรจะสูงขึ้นเมื่อการผลิตอาหารไม่เพียงพอ
แนวคิดสมัยโบราณและสมยักลาง
การเพิ่มจำนวนประชากรมากไปนั้น อาจจะทำให้ผลผลิตต่อประชากรที่ทำงานหนึ่งคนลดลง และเกิดผลกระทบต่อมาตรฐานการครองชีพที่ต่ำลง
แนวคิดสมัยจักรวรรดิโรมัน
เพื่อความยิ่งใหญ่ของประเทศ การขยายอำนาจ กำลังพลทางทหา กฎหรือข้อบังคับส่วนใหญ่ส่งเสริมการเพิ่มประชากร
แนวคิดของฮีบรู(ยิว)
มีข้อบัญญัติที่ค่อนข้างชัดเจนในคัมภีร์ กับการส่งเสริมการเกิด และการมีบุตรจำนวนมาก
แนวคิดของสำนักลัทธิพาณิชย์นิยม
พิจราประชากรในแง่ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร
แนวคิดสมัยกรีกตอนต้น (ต่อ)
Plato เสนอการรักษาระดับจำนวนประชากรให้เหมาะสม

ในกรณีที่มีประชากรน้อย 1.ส่งเสริมการสมรส โดยการให้สินจ้าง ส่งเสริมแนวคิดการมีภรรยาหลายคน ในกรณีที่มีประชากรมากเกินไป 1.ให้มีการคุมจำนวนบุตรเกิดสำหรับครอบครัวใหญ่

ในกรณีที่มีประชากรน้อย

1.ส่งเสริมการสมรส โดยการให้สินจ้าง ส่งเสริมแนวคิดการมีภรรยาหลายคน

ในกรณีที่มีประชากรมากเกินไป

1.ให้มีการคุมจำนวนบุตรเกิดสำหรับครอบครัวใหญ่

แนวคิดสมัยกรีกตอนต้น
Plato and Aristotle ได้พยายามกำหนดจำนวนประชากรที่เหมาะสมสำหรับนครรัฐในสมัยนั้น ซึ่งการกำหนดจำนวนประชากร อยู่บนพื้นฐานกำลังคนเพื่อปกป้องนครรัฐ