พฤติกรรมการสั่งสินค้าออนไลน์ของนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (Online Shopping)
ขอบเขตการวิจัย
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ แบ่งเป็น
2. ตัวแปรตาม
พฤติกรรมการสั่งสินค้าออนไลน์ของนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
1. ตัวแปรอิสระ
นักศึกษาเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 50 คน โดยแบ่งเป็น
นักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชาย จำนวน 25 คน
นักศึกษาเทคนิคการแพทย์หญิง จำนวน 25 คน
การให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย
ความถี่ของการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
จำนวนครั้งของการสั่งซื้อสินค้าผ่านเว็บเบราว์เซอร์
การสั่งสินค้าออนไลน์
การสั่งซื้อสินค้าผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การดำเนินธุรกิจโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
นักศึกษาเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์์
นักศึกษาของสำนักวิชาสหเวชศาสตร์ หลักสูตรเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีการศึกษา 2563
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
ทำให้ผู้คนตระหนักถึงความสำคัญของการใช้จ่ายเงิน
ทำให้ทราบถึงผลดีและผลเสียของการสั่งสินค้าออนไลน์
ระเบียบวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้แบบสำรวจการสั่งสินค้าออนไลน์ของนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ตอนที่ 3 แบบประเมินความพึงพอใจในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
ผลกระทบที่ได้รับจากการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
ประโยชน์ที่ได้รับจากการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
ตอนที่ 2 พฤติกรรมและปัจจัยต่างๆ ของผู้สั่งสินค้าในการสั่งสินค้าออนไลน์
จำนวนเงินในการสั่งซื้อสินค้าแต่ละครั้ง
รายได้ที่ได้รับในแต่ละเดือน
ประเภทของสินค้าที่ทำการสั่งซื้อ
จำนวนสินค้าที่ซื้อในแต่ละครั้ง
จำนวนครั้งในการสั่งสินค้าออนไลน์ต่อเดือน
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
เพศ
ชื่อ-สกุล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
นักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 50 คน
กลุ่มประชากร
การวิจัยครั้งนี้กลุ่มประชากร คือ นักศึกษาเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 193 คน
ประเภทงานวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงสำรวจ โดยให้ผู้ตอบกรอกคำตอบด้วยตัวเองในแบบสอบถาม (Self-administered Questionnaire)ผ่าน google form
สมมติฐานการวิจัย
นักศึกษาเทคนิคการแพทย์จะมีปริมาณการสั่งสินค้าในแต่ละครั้งมากกว่า 2 ชิ้นขึ้นไป
นักศึกษาเทคนิคการแพทย์หญิงจะมีการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์มากกว่านักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชาย
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เปรมกมล หงษ์ยนต์ ได้ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์(ลาซาด้า) ของผ้บริโภคยุคดิจิทัลในกรุงเทพมหานคร
Factors influencing the decision to purchase the product via online application (lazada) Consumer digital era in Bangkok
วัตถุประสงค์ คือเพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ (ลาซาด้า) ของผู้บริโภคยุคดิจิทัลในกรุงเทพมหานคร
กิตติวัฒน์ จิตรวัตร ได้ศึกษาเรื่องปัจจัยการซื้อสินค้าออนไลน์และคุณภาพเว็บไซต์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ลาซาด้าของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร Online Shopping Factor and Website Quality Affecting Decision to Purchase Products via Lazada of Consumers in Bangkok
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการซื้อสินค้าออนไลน์และคุณภาพเว็บไซต์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ลาซาด้าของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร
คำถามของการวิจัย
ประเภทของสินค้าที่นักศึกษาเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นิยมในการสั่งออนไลน์คือสินค้าประเภทใด
การสั่งสินค้าออนไลน์มีผลกระทบทางด้านการเงินอย่างไร
ทำไมการสั่งสินค้าออนไลน์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาผลกระทบทางด้านการเงินจากการสั่งสินค้าออนไลน์
เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสั่งสินค้าออนไลน์ของนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความสำคัญและที่มาของปัญหาวิจัย
ในปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในทางการค้ามากขึ้น โดยเฉพาะการซื้อสินค้าผ่านทางออนไลน์ ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้บริโภคสามารถซื้อสินค้าได้โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าที่ต้องการได้ตามโอกาส และเวลาที่สะดวก แต่อย่างไรก็ตามการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์อาจจะทำให้ผู้บริโภคเกิดการสั่งสินค้าที่มากจนเกินไป ทำให้ส่งผลกระทบทางด้านการเงินของผู้บริโภค