Categorii: Tot - พัฒนา - การเรียนรู้ - นวัตกรรม - ข้อมูล

realizată de Keetaya Sudthong 5 ani în urmă

189

knoweledge society

การจัดการความรู้ในองค์กรมีหลายกระบวนการที่สำคัญ เช่น การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ รวมถึงการเข้าถึงและแบ่งปันความรู้ กระบวนการเหล่านี้ช่วยให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงานและพัฒนาความรู้ในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สังคมแห่งการเรียนรู้เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก ประชาชนได้รับโอกาสพัฒนาและมีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางในการจัดกิจกรรม นอกจากนี้ยังมีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ความรู้ที่ต้องจัดการสามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภท เช่น ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลกราฟิก ข้อมูลภาพลักษณ์ และข้อมูลเสียง ข้อมูลเหล่านี้มีลักษณะเฉพาะที่ต้องการวิธีการจัดการที่แตกต่างกัน เพื่อให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิผลในองค์กร

knoweledge society

knoweledge society

4. ความรู้ (Knowledge)

4.2 ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)
มี2ประเภทคือ

2) Explicit Knowledge

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน

1 Tacit Knowledge

ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็นความรู้ที่ได้จาประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ

4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)

ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต

4.1.2 ความหมายของสารสนเทศ (Information)

ข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสาร

โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสาร

ข้อมูลที่ถูก มนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล เนื่องจาสามารถสื่อความหมายได้โดยมีความครอบคลุมที่กว้างกว่า

ข้อมูลที่มีคุณค่าและคุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจำนวนและคุณภาพ เช่น ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน

สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษคำว่า “Information”

1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถนำมาบวก ลบ คูณ หารได้ เช่น ข้อมูลบัญชีการเงิน ราคาสินค้า เป็นต้น 2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำมาคำนวณได้ เช่น ชื่อคน ชื่อบริษัท เป็นต้น 3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก เช่นข้อมูลภาพโต๊ะ ภาพเก้าอี้ ภาพอาคาร เป็นต้น 4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือการสแกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์ ข้อมูลประเภทนี้จัดเก็บเป็นจุดภาพและไม่สามารถนำไปคำนวณได้ เช่น ภาพใบหน้าของพนักแต่ละคนในบริษัท เป็นต้น 5) ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือเสียงพูด เสียงที่บันทึกไว้ฟัง เป็นต้น
4.1.1 ความหมายของข้อมูล (Data)
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้

5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)

กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กรซึ่งมีดังนีั้
7.การเรียนรู้ ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
2.การสร้างและแสวงหาความรู
1.การบ่งชี้ความรู้

3. ลักษะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง 3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก 3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) 3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions) 3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน 3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ 3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา 3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้ 3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน 3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

2.ยุคของสังคมความรู้แบ่งเป็น2ยุค(Knowledge Society Era)

สังคมความรู้ยุคที่ 2
เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วน

1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้้(Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้
สังคมคทีมีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศสูง สังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ องกรณ์ต่างๆ และใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการเลือกและตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างเหมาะสมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง