Categorii: Tot - บรรณานุกรม - สืบค้น - ฐานข้อมูล - เทคนิค

realizată de Chompunik Khaewmek 5 ani în urmă

214

Central topic

การค้นหาสารสนเทศและความรู้เป็นกระบวนการที่สำคัญในยุคดิจิทัล โดยเฉพาะการใช้ฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์หรือ OPAC ที่สามารถทำให้ได้ข้อมูลหลากหลายแบบ การสืบค้นใน OPAC สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การป้อนข้อมูลที่ต้องการค้นหา การคลิกเพื่อดูรายละเอียดแบบย่อหรือสมบูรณ์ ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น OPAC จะประกอบไปด้วยข้อมูลบรรณานุกรมและข้อมูลดรรชนีวารสาร ส่วนการค้นหาบนอินเทอร์เน็ตนั้น เทคนิคการใช้ตรรกบูลลีน เช่น การใช้คำว่า And, Or, Not จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหา นอกจากนี้ การใช้เครื่องหมายบวกหรือลบหน้าคำค้นก็เป็นอีกวิธีที่ช่วยในการกรองผลการค้นหาให้แม่นยำยิ่งขึ้น การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ยังครอบคลุมไปถึงฐานข้อมูลที่ห้องสมุดบอกรับเป็นสมาชิกและฐานข้อมูลของหน่วยงานต่างๆ ซึ่งสามารถเข้าถึงได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในบางกรณี

Central topic

หน่วยที่ 2 การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต 1. เทคนิคตรรกบูลลีน 1.1 การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น เช่นเดียวกับการสืบค้นในระบบออนไลน์อื่นๆ โดยเครื่องหมาย หรือตัวกระทำของตรรกบูลลีนจะ แตกต่างกันไปในแต่ละกลไก 1.2 การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการ สืบค้นการท่ีเกี่ยวข้องกับคำค้นอย่างไร 1.3 การใช้เคร่ืองหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) กำหนดหน้าคำค้นท่ีต้องการ 2. เทคนิคการตัดคำ 2.1การใช้เครื่องกลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) 2.2 การสืบค้นในลักษณะของ Stemming 3. เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง โดยใช้คาว่า ADJ, NEAR, FAR และ BEFORE ประกอบ เป็นประโยคการค้น 4. เทคนิคการใช้รหัสกากับคำค้น 4.1 สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) 4.2 สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกากับลงในประโยคการค้น 5. เทคนิคอื่นๆ 5.1 เทคนิคการค้นด้วยเคร่ืองหมายคาพูด “.....” (Exact phrased search) 5.2 เทคนิคการค้นหาคาพ้องความหมาย (Synonyms) ด้วยเครื่องหมาย ~ 5.3 เทคนิคการค้นกลุ่มคาหรือคาที่ไม่แน่ใจด้วยเคร่ืองหมาย * (Wildcard) 5.4 เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range) ด้วยเคร่ืองหมาย .. 5.5 เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของคา (Definition) โดยใช้คาว่า define: ตามด้วยคาที่ต้องการทราบความหมาย 5.6 เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering) 5.7 ควรใช้คาท่ีหลากหลายและไม่ควรใช้คาที่ค้นหาเกิน 32 คำ
องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine) 1.ตัวสารวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot) 2.ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog 3.โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor)
เว็บไซต์ที่ทาหน้าที่ค้น ข้อมูลมี 2 ประเภท 1. นามานุกรม (Web Directories) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ บนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม 2. เครื่องมือสืบค้น (Search engine) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทางาน ของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดยแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้ Search Engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป
1.ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก 2.ฐานข้อมูลสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai Library Integrated System)3.ฐานข้อมูลทดลองใช้ฟรี

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ [OPAC]

ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
2 ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index) - ชื่อผู้แต่ง (Author) - ชื่อเรื่อง (Title) - ปี (Year) - ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal) - สถานที่ (Location) - ชื่อวารสาร (Journal) - เลขมาตรฐานสากลประจาวารสาร (ISSN) - หัวเรื่อง (Subject)
1 ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description) - ชื่อผู้แต่ง (Author) - ชื่อเรื่อง(Title) - พิมพลักษณ์ (Imprint) - สถานภาพ (Status) - เลขเรียกหนังสือ (Call number) - รูปเล่ม (Description) - หมายเหตุ (Note) - สถานที่ (Location) - หัวเรื่อง (Subject) - เลขมาตรฐาน (ISBN)
วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
4. หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใดให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการ นั้นๆ
3.หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว
2. ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก
1.จากหน้าจอรายการหลักของOPACให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้ เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู