Categorii: Tot - กำไร - นิติบุคคล - รายได้ - ภาษี

realizată de กรรธิมา ดวงแก้ววิเศษ 5 ani în urmă

320

บทที่3 ภาษีเงินได้นิติบุคคล

การจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลมีความซับซ้อนและต้องพิจารณาหลายปัจจัย นิติบุคคลบางประเภทได้รับการยกเว้นภาษีตามกฎหมาย ซึ่งรวมถึงองค์การของรัฐและนิติบุคคลที่ไม่แสวงหากำไร สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนในต่างประเทศ จะต้องเสียภาษีเฉพาะจากกิจการที่ทำในประเทศไทยเท่านั้น ในขณะที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทย จะต้องรวมรายได้จากทั้งในและนอกประเทศเพื่อคำนวณภาษี หลักการคำนวณฐานภาษีเงินได้นิติบุคคลมีหลายส่วน เช่น การคำนวณกำไรสุทธิ ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ การจำหน่ายหนี้สูญ และการตีราคาสินค้าคงเหลือ นอกจากนี้ยังมีการคำนวณราคาทุนของสินค้าและสินทรัพย์ที่มีการแลกเปลี่ยนเป็นเงินตราต่างประเทศตามอัตราแลกเปลี่ยนในวันที่ได้รับหรือจ่าย ทั้งนี้ยังมีการกำหนดให้การโอนทรัพย์สินโดยไม่มีค่าตอบแทนต้องประเมินตามราคาตลาดในวันที่โอน และการคำนวณเงินปันผลเป็นรายได้

บทที่3 ภาษีเงินได้นิติบุคคล

บทที่3 ภาษีเงินได้นิติบุคคล

รอบระยะเวลาบัญชี

3.รอบระยะเวลาบัญชีมากกว่า12เดือน
2. รอบระยะเวลาบัญชีน้อยกว่า 12 เดือน
4)มีการควบกัน
3)เลิกกัน
2)ยื่นคำร้องขอเปลี่ยนวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี
1)เริ่มตั้งใหม่
1. รอบระยะเวลาบัญชีทั่วไป ต้องเท่ากับ12เดือน โดยจะเริ่มต้นและสิ้นสุดเมื่อใดก็ได้

แหล่งเงินได้

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศให้เสียภาษีเงินได้เฉพาะจากกิจการหรือเนื่องจากกิจการที่กระทำในประเทศไทยเท่านั้น
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย เงินได้ไม่ว่าจะเกิดจากการประกอบกิจการในประเทศไทยหรือต่างประเทศมารวมคำนวนเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามหลักแหล่งเงินได้ทั่วโลก

นิติบุคคลที่ได้รับการยกเว้น

3.นิติบุคคลบางประเภทที่เข้าลักษณะต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมาลรัษฎากร แต่ได้รับการยกเว้นตามบทบัญญัติของกฎหมายกฎหมายต่างๆ
2.นิติบุคคลที่ไม่แสวงหากำไร
1.นิติบุคคลที่เป็นองค์การของรัฐ

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

6.นิติบุคคลที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
5.มูลนิธิหรือสมาคมที่ร่วมกิจการซึ่งมีรายได้
4.กิจการร่วมค้า Joint Venture
กิจการที่ดำเนินการร่วมกันเป็นทางค้าหรือหากำไร
3.กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางค้าหรือหากำไร
นิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ
องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ
รัฐบาลต่างประเทศ
2.บริษัทหรือห้สงหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
6.4.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต่างประเทศนั้น มิได้เข้ามาทำกิจการในประเทศไทยโดยตรงหากแต่มีลูกจ้างหรือผู้ทำการแทนในประเทศไทย
5.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิจิบุคคลต่างประเทศที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย ได้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย
4.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต่างประเทศนั้น มิได้ประกอบกิจการในไทยแต่ได้รับเงินพึงประเมินตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) หรือ (6) ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
3.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิจิบุคคลต่างประเทศนั้น กระทำกิจการอื่นๆรวมทั้งในประเทศไทย กระทำเป็นกิจกรขนส่งระหว่างประเทศ
2.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต่างประเทศนั้น กระทำกิจการในที่อื่นๆรวมทั้งในประเทศไทย
1.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต่างประเทศนั้นเข้ามากระทำกิจการในประเทศไทย
1.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
บริษัทจำกัด

ฐานภาษีเงินได้นิติบุคคล

4.ฐานการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากต่างประเทศ
การยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษี

เสียภาษีโดยหักจากจำนวนเงินที่จำหน่ายในอัตราร้อยละ 10

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งจำหน่ายเงินกำไรหรือเงินประเภทอื่นที่กันไว้จากกำไรออกไปจากประเทศไทย

3.ฐานเงินได้บางประเภทที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
การยื่นแบบแสดงรายการชำระภาษี

ภ.ง.ด.54 ภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้พึงประเมิน

เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) ร้อยละ10

เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) (3) (4) (5) และ (6) นอกจากเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) ร้อยละ15

ได้รับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) (3) (4) (5) หรือ (6)
2.ฐานรายรับก่อนหักรายจ่าย
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี

3.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ แต่เนื่องจากนิติบุคคลนั้นไม่ยื่นรายการ ไม่ทำบัญชี ทำบัญชีแต่ไม่สมบูรณ์ เจ้าพนักงานมีอำนาจประเมินภาษีในอัตราร้อยละ5ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่าย

2.มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการแล้วมีรายได้

ภ.ง.ด.55 ภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

เงินได้อื่นๆนอกจากมาตรา 40(8) ร้อยละ10

เงินได้ตามมาตรา 40(8) ร้อยละ2

รายได้ที่ได้รับการยกเว้น

เงินหรือทรัพย์ที่ได้รับการการให้โดยเสน่หา

เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการบริจาค

ค่าลงทะเบียนหรือค่าบำรุงที่ได้รับจากสมาชิก

1.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งตามกฎหมายของต่างประเทศ เข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทยประเภทกิจการขนส่งระหว่างประเทศ

การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี

ภ.ง.ด. 52 ภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

1.2กรณีรับขนของ รายได้เกิดจากค่าระวางค่าธรรมเนียม เนื่องในการขนของออกจากประเทศไทยเท่านั้น อัตราภาษีร้อยละ 3

1.1กรณีรับขนคนโดยสาร รายได้เกิดจากค่าโดยสาร ค่าธรรมเนียมและประโยชน์อื่นใดที่เรียกเก็บในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3

1.ฐานกำไรสุทธิ
การคำนวนภาษีได้

2.สิ้นรอบระยะเวลาบัญชี

1.ครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี

เงื่อนไขการคำนวนกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี

20.รายจ่ายที่มีลักษณะทำนองเดียวกับที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (19) ซึ่งจะกำหนดโดยพระราชฎีกา

19.รายจ่ายใดๆที่กำหนดจ่ายจากผลกำไรที่ได้เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีแล้ว

18.รายจ่ายซึ่งผู้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ

17.ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคาต่ำลง ทั้งนี้ภายใต้บังคับมาตตา 65 ทวิ

16.ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญสิ้นไปเนื่องจากกิจการที่ทำ

15.ค่าซื้อทรัพย์สินและรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อหรือขายทรัพย์สินในส่วนที่เกินปกติโดยไม่มีเหตุผลอันควร

14.รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะ

13.รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรเพื่อกิจการโดยเฉพาะ

12.ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกันใดๆ หรือขาดทุนสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนๆ เว้นแต่ผลขาดทุนสุทธิ ยกมาไม่เกิน 5 ปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบัน

11.ดอกเบี้ยที่คิดให้สำหรับเงินทุน เงินสำรองต่างๆหรือเงินกองทุนของตนเอง

10.ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเองและใช้เอง

9.รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเองโดยไม่ได้จ่ายจริง

8.เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนเฉพาะที่จ่ายเกินสมควร

7.การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทนของผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

6.เบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มภาษีอากร

5.รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน

4.ค่ารับรองหรือค่าบริการ

3.รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หา การกุศล

2.เงินกองทุน

1.เงินสำรองต่างๆ

เงื่อนไขการคำนวนกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ

14.ภาษีขาย

ไม่นับเป็นรายได้

13มูลนิธิหรือสมาคม

10.การคำนวนเงินปันผลเป็นรายได้

คำนวนเป็นรายได้เพีบงกึ่งหนึ่งของจำนวนที่ได้

9.การจำหน่ายหนี้สูญ

2.ต้องเป็นหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความและมีหลักฐานโดยชัดแจ้งที่สามารถฟ้องลูกหนี้ได้

1.ต้องเป็นหนี้จากการประกอบกิจการหรือเนื่องจากการประกอบกิจการ

8.การคำนวนราคาทุนของสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ

ให้คำนวนเป็นเงินตราไทย ตามอัตราแลกเปลี่ยนในท้องตลาดของวันที่ได้สินค้านั้นมา

7.การคำนวนราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจากต่างประเทศ

ยึดตามราคาตลาด

6.การตีราคาสินค้าคงเหลือ

ให้คำนวนตามราคาทุนหรือราคาตลาด แล้วแต่อย่างใดจะน้อยกว่าและให้ถือเป็นราคานี้เป็นราคาคงเหลือยกมาสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ด้วย

5.การคำนวนมูลค่าของทรัพย์สินและหนี้สินเมื่อมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ

ให้คำนวนค่าหรือราคาเป็นเงินไทยตามราคาตลาดในวันที่มารับหรือจ่ายไปนั้น

4.การโอรทรัพย์สินโดยไม่มีค่าตอบแทน

โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ประเมินตามราคาตลาดวันที่โอน

3.การตีราคาสินทรัพย์

ให้ถือตามราคาที่เพิ่งซื้อ

2.ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์

1.รายการที่ระบุไว้ในมาตรา 65 ตรี ไม่ถือเป็นรายจ่าย

อัตราภาษี

ทุนชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการไม่เกิน 30 ล้านบาท(SMEs)

หุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป จัดเก็บร้อยละ 20 ของกำไรสุมธิ

เงินได้ที่ได้รับการยกเว้น

3.การยกเว้นตามกฎหมายอื่น

2.ยกเว้นตามพระราชฎีกา

2.2การยกเว้นภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องรายจ่าย

2.1การยกเว้นภาษีเงินไเ้ที่เกี่ยวข้องกับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ

1.ยกเว้นตามประมวลรัษฎากร

รายได้ที่ต้องนำมาคำนวนภาษี

รายได้เนื่องจากกิจการที่กระทำ

รายได้จากกิจการ

ผู้มีหน้าที่เสียเงินได้

กิจการร่วมค้า

ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ

ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค

ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน

ห้างหุ้นส่วนจำกัด

บริษัทมหาชน จำกัด

บริษัท จำกัด