สรุปบทเรียนที่1 เรื่องสังคมความรู้
The part of speech is a category to which a word is assigned according to its syntactic functions. In English the main parts of speech are noun, pronoun, adjective, determiner, verb, adverb, preposition, conjunction, and interjection.
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
A conjunction is a word like 'if' 'but' or 'and' which is used to connect sentences or clauses together.
1. ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
2. เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3. ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
4. สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
5. มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
6. มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
7. มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
8. การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
9. สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
10. ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
11. ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
Coordinating conjunctions always connect phrases, words, and clauses. They are: for, and, nor, but, or, yet, so.
This stew is savory and delicious.
ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Era)
A preposition is one of the most exciting parts of grammar. A preposition is used to describe the location of something in relation to something else.
สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และพึ่งตนเอง
Participle preposition consists of words that end in “ing”.
ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่2
4. มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
3. มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
2. มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
1. มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
สังคมความรู้ยุคที่1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาดและความอยู่รอด
When a preposition consists of one word it is called single or simple preposition.
Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความรู้การวิจัยหรือความรู้จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างพลังที่น าไปสู่ Empowerment
Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้
เช่น การทำคู่มือต่างๆ
Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้มค่าหรือไม่ ซึ่งในการตีค่าความรู้ที่มีหลักฐานถูกต้องตามหลักวิชาการแต่ไม่เหมาะสมที่จะ
นำมาใช้โดยส่วนใหญ่มีสาเหต
5. ไม่สร้างความยุติธรรม และศักดิ์ศรีมนุษย์
4. ขัดกับความคิด ความเชื่อ หรือวัฒนธรรม
3. ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจำเป็น
2. ใช้สำหรับสิ่งที่ไม่จำเป็น หรือฟุ่มเฟือย
1. ความไม่คุ้มค่า หรือราคาแพงเกินกว่าผลประโยชน์
Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอก ดังนั้น จึงต้องมีการประเมินความถูกต้องของความรู้ ซึ่งการวิจัยนับว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะบอกว่าความรู้นั้นถูกต้องหรือไม่
Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
การเข้าถึงความรู้ทาง Internet หรือ ICT Connectivity ต่าง ๆ
นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)
An adverb is used to describe a verb, but it can also describe an adjective or another adverb.
Adverbs normally help paint a fuller picture by describing how something happens.
กระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคม เกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้ องค์ความรู้ต่าง ๆ จนสามารถสร้างความรู้ สร้างทักษะ มีระบบการจัดการความรู้และระบบการเรียนรู้ มีการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทุกภาคส่วนในสังคม
Always, usually, Never
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูงจาก
ความรู้ที่มีบุคลากรทางานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง
Carefully, Slowly
กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)
A pronoun is a word that can be used in place of a noun, typically after the noun itself has already been stated.
7. การเรียนรู้
Relative pronouns are used to add more information to a sentence. Which, that, who (including whom and whose), and where are all relative pronouns.
Which, Where
6. การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
Interrogative pronouns are used in questions. Although they are classified as pronouns, it is not easy to see how they replace nouns. Who, which, what, where, and how are all interrogative pronouns.
Which, Who
5. การเข้าถึงความรู้
Reciprocal pronouns are used for actions or feelings that are reciprocated. The reciprocal pronouns are each other and one another.
Each other, one another
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
A reflexive pronoun ends with ...self or ...selves and refers to another noun or pronoun in the sentence (usually the subject of the sentence). The reflexive pronouns are myself, yourself, herself, himself, itself, ourselves, yourselves, and themselves.
Itself, Himself
3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
Demonstrative pronouns are used to demonstrate (or indicate). This, that, these, and those are all demonstrative pronouns.
This, These
2. การสร้างและแสวงหาความรู้
Possessive pronouns are used to show possession. The possessive pronouns are mine, yours, his, hers, ours, and theirs.
His, Your
1. การบ่งชี้ความรู้
The personal pronouns are I, you, he, she, it, we, they. More often than not (but certainly not always), they replace nouns representing people.
Create sentences
He, They
ความรู้ (Knowledge)
A verb is an action word or 'doing' word that signifies movement in some way.
ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)
A participle is a verb form that can be used as an adjective or to create a verb tense. There are two types of participles: Present participle (ending -ing) and Past participle (usually ending -ed, -d, -t, -en, or -n).
2. Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎี คู่มือต่างๆ
ในบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
1. Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่สามารถอธิบายได้และไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งคำทั้ง 3คำมีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
A modal is a type of auxiliary (helping) verb that is used to express: ability, possibility, permission or obligation. The main modal verbs in the English language are: can, could, may, might, must, shall, should, will, would.
ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง
บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และสามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จำกัดในอนาคต
สารสนเทศ หมายถึง
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์
A linking verb connects the subject with a word that gives information about the subject, such as a condition or relationship.
ข้อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
A verb with its own meaning: a verb that is not an auxiliary verb.