Categorii: Tot - ชุมชน - พัฒนา - เครือข่าย - การเรียนรู้

realizată de Budsayarat piwpong 5 ani în urmă

237

สังคมความรู้. ( Knowledge Society )

สังคมแห่งการเรียนรู้เป็นแนวคิดที่เน้นการจัดการความรู้และการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาชุมชนและสังคม การเรียนรู้ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้งและมีการริเริ่มและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยมีภาคประชาชนเป็นแกนกลางในการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชนและมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สถาบันทางสังคมและสถานศึกษามีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนา ผู้คนทุกคนมีบทบาทเป็นครูและผู้เขียน และความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน นอกจากนี้ กระบวนการจัดการความรู้ในองค์กรควรเน้นการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน มีการบ่งชี้และสร้างความรู้ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ และการเข้าถึงความรู้ สังคมความรู้ยุคที่สองมุ่งเน้นการสร้างสรรค์และประยุกต์ใช้ความรู้ในสังคม โดยมีการสะสมและถ่ายโอนความรู้ในสังคมเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งนี้การเข้าถึงและการกระจายความรู้เป็นปัจจัยสำคัญในการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและการอยู่รอดในสังคม

สังคมความรู้.                                   ( Knowledge Society )

สังคมความรู้. ( Knowledge Society )

Use this mind map structure to discover unseen connections, generate new ideas and reach a better understanding of any given subject.

4.ความรู้ ( Knowledge )

4.3.ประเภทรูปแบบความรู้ ( Type of Knowledge )
4.3.2Explicit knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ผ่านวิธีต่างๆ
4.3.1Tacit knowledge ความรู้ที่ซ่อนเร้นอยู้ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้นเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์
4.2.ความหมายของความรู้ ( Definition of Knowledge )
ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่องหรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางอย่าง โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆที่สะสมในอดีต
4.1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ ความรู้ ”
4.1.2.ความหมายของสารสนเทศ ( Information )

สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวนผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้

4.1.1.ความหมายของข้อมูล ( Data )

5.กระบวนการจัดการความรู้. ( Processes of knowledge )

5.7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
5.6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
5.6.2.Tacit knowledge จัดทำระบบ ทีมข้ามสายงาน
5.6.1.Explicit knowledge อาจจะจัดทำเป็นเอกสาร ฐานความรู้
5.5.การเข้าถึงความรู้
5.4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
5.3.การจัดความรู้ให้เป็บระบบ
5.2.การสร้างและแสวงหาความรู้
5.1.การบ่งชี้ความรู้

3.ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้ ( Topic )

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เขียน
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห้งการเรียนรู้
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.7 มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง ( Core Groups ) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ ( Key Institutions )
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา ( Key Individuals )
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

2.ยุคของสังคมความรู้. ( Knowledge Society Era )

2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ
2.2.4.มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
2.2.3.มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
2.2.2.มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
2.2.1.มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาดและความอยู่รอด ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5ด้านดังนี้
2.1.5.Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้
2.1.4.Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้
2.1.3.Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความ
2.1.2.Knowledge Validation คือการประเมิณความถูกต้องของความรู้
2.1.1.Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

1.นิยามหรือความหมายของสังคม ( Definition of knowledge society )

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงแลใช้ประโยชนจากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง