สังคมความรู้ Knoledge Society
5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge) กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้น ภายในองค์กร
7.การเรียนรู้ ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ทำได้หลายวิธีการ
Tacit Knowledge จัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ และนวัตกรรม
Explicit Knowledge อาจจะจัดทำเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ
5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บ
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง
1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
4. ความรู้ (Knowledge)
4.2 ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge) ประเภทของความรู้มีหลายลักษณะทั้งความรู้จากข้อเท็จจริง ความรู้จากประสบการณ์ ความรู้ที่ได้รับถ่ายทอดมาหรือความเชื่อ ความรู้ส่วนบุคคล (Individual knowledge) และความรู้ องค์กร (Organizational knowledge) จากลักษณะต่างๆ
ประเภทของความรู้ออกเป็น 4 ระดับ
4) ความรู้ใหม่ คือ ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน เป็นความรู้ที่เกิดจากการค้นคว้าวิจัย
3) ความรู้ด้านวิชาการ เป็นความรู้ที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน
2) ความรู้ด้านภาษา ซึ่งจะทำให้อ่านและเขียนหนังสือได้ ฟังเข้าใจ ดูโทรทัศน์รู้เรื่อง
1) ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา
ลักษณะของความรู้ เเบ่งได้เป็น 2 ประเภท
2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ
1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก จากกันได้
4.1.2 ความหมายของสารสนเทศ (Information) สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษคำว่า “Information” สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจ านวนและคุณภาพ เช่น ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน เป็นต้น
4.1.1 ความหมายของข้อมูล (Data) Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ ข้อมูลสามารถเเบ่งได้ 5 ประเภท
5) ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือ เสียงพูด
4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือ การสแกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์
3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก
2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)
1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข
2. ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era)
2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2
ลักษณะส าคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2
4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1
5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติ
สาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้
4) Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การน าความรู้ออกมา
เป็นกฎเกณฑ์
3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้
2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้
1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ c
1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก
ความรู้ที่มีบุคลากรท างานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง
3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
7 มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups)
4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)
3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง