Categorii: Tot - สารสนเทศ - เทคนิค - อินเทอร์เน็ต

realizată de yongkit pangsapa 5 ani în urmă

262

สารสนเทศและความรู้

การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมีเทคนิคหลายวิธีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหา หนึ่งในนั้นคือการใช้คำใกล้เคียงและการกำหนดลักษณะของผลการสืบค้นด้วยคำว่า ADJ, NEAR, FAR, และ BEFORE นอกจากนี้ยังมีการใช้รหัสกำกับคำค้นเพื่อให้ผลการค้นหามีความแม่นยำมากขึ้น เช่น การค้นหาคำในชื่อเรื่อง การใช้เมนูทางเลือกในการกำหนดเขตข้อมูลที่ต้องการค้นหาเป็นอีกวิธีที่มีประสิทธิภาพ การใช้ตรรกบูลลีน เช่น And, Or, Not และเครื่องหมาย + หรือ - ก็สามารถช่วยกรองผลการค้นหาได้อย่างดี เทคนิคการค้นหาเพิ่มเติมเช่น การหานิยามของคำ การค้นหาช่วงชุดของตัวเลข การกรองสิ่งที่ค้นหา และการค้นหาคำพ้องความหมาย การใช้เครื่องหมาย *

สารสนเทศและความรู้

สารสนเทศและความรู้

รายละเอียดและตัวอย่างการสืบค้น OPAC ปรากฎในภาคผนวก ก1

ฐานข้อมูลทดลองใช้ ฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์ สารสนเทศ นำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน ก่อนที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศจะตัดสินใจซื้อ หรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นจริงๆ ทั้งนี้ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศอาจจะพิจารณา บอกรับเป็นสมาชิกโดยตรวจสอบจากการใช้บริการของผู้ใช้ว่ามีมากน้อยเพียงใด คุ้มหรือไม่หากต้องนำมาบริการจริงๆ
ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai Library Integrated System) เป็นฐานข้อมูลที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ โครงการ Thai Library Integrated System เช่าใช้ฐานข้อมูลวิชาการโดยมีสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย เพื่อให้มหาวิทยาลัยของรัฐร่วมกันใช้บริการ สืบค้นสารสนเทศ ภายใต้ฐานข้อมูลต่างๆ
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก คือฐานข้อมูล ออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้โดยมี การจำกัดระยะเวลาในการใช้ นั้นคือจะสามารถใช้ฐานข้อมูลได้ในระหว่างเป็นสมาชิกของฐานข้อมูล นั้นในระยะเวลาที่กำหนด

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์

ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)

เลขมาตรฐานสากลประจ าวารสาร (ISSN)

ชื่อวารสาร (Journal)

ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal)

ปี (Year)

ชื่อเรื่อง (Title)

ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)

เลขมาตรฐาน (ISBN)

หัวเรื่อง (Subject)

สถานที่ (Location)

หมายเหตุ (Note)

รูปเล่ม (Description)

เลขเรียกหนังสือ (Call number)

สถานภาพ (Status)

พิมพลักษณ์ (Imprint)

ชื่อเรื่อง(Title)

ชื่อผู้แต่ง (Author)

วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการนั้นๆ
หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว ซึ่ง จะประกอบไปด้วยชื่อเรื่อง ชื่อผู้รับผิดชอบ และปีพิมพ์
ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก เช่น เลือก ทางเลือกผู้แต่ง พิมพ์ชื่อผู้แต่ง
จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้ เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนูเช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

เทคนิคอื่นๆ
ควรใช้คำที่หลากหลายและไม่ควรใช้ค าที่ค้นหาเกิน 32 ค า ซึ่งการใช้คำที่ หลากหลายเพื่อค้นหาจะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า
เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering)
เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของค า (Definition)
เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range)
เทคนิคการค้นกลุ่มค าหรือค าที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard)
เทคนิคการค้นหาค าพ้องความหมาย (Synonyms)
เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายค าพูด “…..” (Exact phrased search)
เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น
สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลก ากับลงในประโยคการค้น เช่น title:nba หมายถึงให้ ค้นเพจที่มีคำาว่า nba ปรากฏในชื่อเรื่อง
สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ซึ่งกลไกสืบค้นหลาย ๆ กลไก กำหนดให้ผู้สืบค้นเลือกเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้นได้จากเมนูทางเลือก โดยให้ เลือกได้จากภาษา
เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง
โดยใช้คำว่า ADJ, NEAR, FAR และ BEFORE ประกอบ เป็นประโยคการค้น เพื่อกำหนดลักษณะของผลการสืบค้นที่ต้องการว่าต้องการให้มีคำใด อยู่ในลักษณะใด
เทคนิคการตัดคำ
การสืบค้นในลักษณะของ Stemming หมายถึง การสืบค้นจากรากค า เช่น ค าค้นเป็น think กลไกจะสืบค้นค าอื่น ๆ ที่ขึ้นต้นด้วย think
การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดค าส่วน ใหญ่เป็นการตัดท้ายค าค้นที่ต้องการ
เทคนิคตรรกบูลลีน
การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) ก าหนดหน้าค าค้นที่ต้องการ เครื่องหมาย + หมายถึงในผลการค้นต้องมีค าที่ก าหนดนั้น และเครื่องหมาย – หมายถึงไม่ต้องการให้พบค านั้นในผลการสืบค้น
การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการ สืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับค าค้นอย่างไร
การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้นเช่นเดียวกับการสืบค้นใน ระบบออนไลน์อื่นๆ โดยเครื่องหมาย

รายละเอียดและตัวอย่างการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ปรากฎในภาคผนวก ก2

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
เครื่องมือสืบค้น (Search engine) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการท างาน ของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดยแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้ Search Engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป
นามานุกรม (Web Directories) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ บนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือตามหลักเกณฑ์ที่ ผู้จัดท าก าหนดขึ้น

การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์

เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล เพื่อให้ระบบทราบว่า ต้องการรายการใดบ้างในพิมพ์ผลออกทางกระดาษ
แสดงผลการสืบค้น เมื่อสืบค้นจนได้ปริมาณรายการที่พอเพียงกับความต้องการ แล้วสามารถแสดงผลรายการที่สืบค้นได้
ลงมือสืบค้น โดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้ 2 วิธี คือการใช้เมนูในการสืบค้น และการ สืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่ง
เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม ทั้งนี้ต้องทราบว่าเรื่องที่สืบค้นนั้นเป็นเรื่องใน สาขาใด เลือกฐานข้อมูลให้ตรงหรือใกล้เคียงกับสาขาวิชาที่สืบค้น
วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกำหนดค าสำคัญเพื่อใช้ในการค้น การวิเคราะห์ เรื่องที่ต้องการสืบค้น