ภาศีมูลค่าเพิ่ม
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ
ภาษีที่ต้องชำระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องเรียกเก็บ
การเรียกเก็บภาษีขายโดยรวมภาษีขายอยู่ในราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ โดยคำนวณภาษีที่เรียกเก็บได้
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ (ภาษีขาย) = ฐานภาษี X อัตราภาษี / (100+อัตราภาษี)
การเรียกเก็บภาษีขายโดยการแยกภาษีอกจากราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการคำนวณภาษีที่เรียกเก็บได้
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ (ภาษีขาย) = ฐานภาษีXอัตราภาษี
การออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบแทนใบเพิ่มหนี้ และใบแทนใบลดหนี้
ลงลายมือชื่อของผู้ออกใบแทน
คำอธิบายย่อๆ ถึงสาเหตุี่ออกใบแทน
วัน เดือน ปี ที่ออกใบแทน
ใบแทนออกให้ครั้งที่
กิจการที่ได้รับการผ่อนปรนไม่ต้องออกใบกำกับภาษี
กิจการย่อยที่ไม่ต้องออกใบกำกับภาษีสำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการที่มีมูลค่าครั้งหนึ่งไม่เกิน 10000 บาทืเว้นแต่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจะเรียกร้องใบกำกับภาษี
ประเภทของใบกำกับภาษี
เอกสารที่ถือเป็นใบกำกับภาษี
ใบลดหนี้
ใบเพิ้มหนี้
ใบกำกับภาษีที่อธิบดีกรมสรรพากรกหนดให้มีรายการเป็นอย่างอื่น
ใบกำกับภาษีของสินค้ารหือบริการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดในกฎกระทรวง
ใบกำกับภาษีที่อธิบดีอนุมัติให้ทำเป็ฌนภาษาต่างประเทศ
ใบกำกับภาษีของยาสูบ หรือน้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ใบกำกับภาษีหรือบริการเฉพาะอย่างตามมาตรา 79/1 (การขายสินค้าโดยการส่งออกให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ)
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบกำกับภาษ๊อย่างย่อที่ออกโดยเครื่องบันทึกการเก็บเงิน
รายการของใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ผู้มีสิทธิออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ใบกำกับภาษีเต็มรูปแบบ
วิธีการจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป
รายการของใบกำกับภาษีเต็มรูป
กรณีไม่จำเป็นต้องออกใบกำกับภาษี
ผู้ประกอบการซึ่งไม่ต้องนำค่าตอบแทนที่มีลักษณะและเงื่อนไขตามที่อธิบดีกำหนด
ผู้ประกอบการการจดทะเบียนให้บริการโดยไม่มีค่าตอบแทน
ผู้ประกอบการจดทะเบียนจำหน่าย จ่าย โอนสินค้า
กรณีที่ถือเป็นการให้บริการกรณีการใช้บริการตนเอง
กรณีที่ถือเป็นการขายสินค้าตามมาตรา 77/1(8)
ผู้ไม่มีสิทธิ์ออกใบกำกับภาษี
ผู้ประอบการจดทะเบียนที่ทรัพย์สินถูกนำขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นตามมาตรา 83/5
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักร และได้ให้ตัวแทนของตนออกบกำกับภาษีแทนตามมาตรา 86/2
ผู้ประกอบการจดทะเบียน แต่ไม่ได้มีการขายสินค้าหรือให้บริการ
ผู้ประกอบการที่มิได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ที่ออกใบกำกับภาษี
ผู้ประบกอารที่ประกอบกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ถูกขีดชื่อออกจากทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตัวแทนในราชอาณาจักร ของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณษจักร
ตัวแทนในราชอาณษจักร ของผู้ประกอบการจดทะเบียนในราชอาณษจักร
ผู้ขายทอดตลาดที่มิใช่ส่วนราชการ ซึ่งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ประกอบการการจดทะเบียน
ผู้ประกอบการที่จดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 หรือร้อยละ 7
ความผิดทางภาษี
ความผิดทางอาญา
ความผิดในกรณีอื่น
วามผิดเกี่ยวกับการจัดทำรายงานและเก็บรักษาเอกสาร
ความผิดเกี่ยวกับการออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ และใบลดหนี้
โทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 7 ปี ปละปรับตั้งแต่ 2000 บาทถึง 200000 บาท
โทษจำคุกไใ่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
โทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 5000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ปฏิบัติตามระเบียบกับเกี่ยวกับการใช้เครื่องันทึกการเก็บเงิน
ตัวแทนออกใบกำกับภาษ๊ในนนามผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
ผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มชั่วคราวได้ออกใบกำกับภาษี
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่จัดทำใบกำกับภาษีหรือสำเนาใบกำกับภาษี
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบแทนเพิ่มหนี้ หรือใบแทนลดหนี้
ผู้ประกอบการจดทะเบียนออกใบกำกับภาษี ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้ โดยมีรายการในส่วนที่เป็นสาระสำคัญไม่ครบถ้วน
ความผิดเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
ผู้นำเข้าไม่ยื่นใบขนสินค้า
ผู้มีหน้าที่นำส่งเงินภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่ประมวลรัษฎากรกำหนดไม่นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้มีหน้าที่เสียภาษียื่นแบบแสดงรายการภาษีไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ผู้ไม่จัดส่งสำเนาสัญญาหรือเอกสาร
ความผิดเกี่ยวกับการจดทะเบียนภาษ๊มูลค่าเพิ่ม
โทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 5000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ โดยที่ผู้ประกอบการมีหน้าที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มประกอบกิจการโดยไม่ได้จดดะเทีบยภาษีมูลค่าเพิ่ม
โทษปรับไม่เกิน 5000 บาท
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการโอนกิจการหรือการโอนกิจการทั้งหมด
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการเปิดสถานประกอบการเพิ่มเติมหรือปิดสถานประกอบการ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตัวแทนะเลยม่ดำเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนของผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร
โทษปรับไม่เกิน 2000 บาท
ผู้ครอบคราวทรัพย์มรดก
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการหยุดประกอบกิจการชั่วคราว
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการย้ายสถานประกอบการ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่คืนใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่แจ้งการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ความผิดทางแพ่ง
เงินเพิ่ม
บุคคลใดไม่ชำระภาษีหรือนำส่งภาษีให้ครบถ้วยภายในกำหนดเวลา จะต้องเสียภาษีเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อปี
เบี้ยปรับ
ความผิดเกี่ยวกับการจัดทำรายงาน และเก็บรักษาเอกสารหลักฐาน
ความผิดเกี่ยวกับการออกใบกำกับภาษีใบเพิ่มหนี้ และใบลดหนี้
ความผิดเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำระภาษี
ความผิดเกี่ยวกับการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
เครดิตภาษีและการขอคืนภาษี
การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม
เงื่อนไขการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม
การขายสินค้าหรือการให้บริการกรณีอื่นให้ยื่นคำร้องขอคืนภายใน 3 ปีนับแต่วันที่ได้ชำระภาษี มาตรา 84/1
การขายสินค้าหรือให้บริการในกรณีที่มีภาษ๊ต้องขอคืน
ผู้มีสิทธิขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มได้แก่
ผู้ไม่มีหน้าที่เสียภาษีแต่ได้ชำระภาษีไว้ (ใช้แบบ ค.10
ผู้มีหน้าที่นำส่งภาษีซึ่งนำส่งไว้เกิน ผิด หรือซ้ำ (ใช้แบบ ค.10)
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มไว้เกิน ผิด หรือซ้ำ (ใช้แบบ ค.10)
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มีเครดิตภาษีเหลืออยู่ในแต่ละเดือนภาษี (กรณีไม่ประสงค์ที่จะยกไปชำระภาษีของเดือนถัดไป)(ขอคืนในแบบ ภ.พ.30)
ตภาษีที่เหลืออยู่ไปชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม
กรณีที่ไม่ได้นำเครดิตภาษีทีเหลืออยู่ไปชำระภาษีมูลค่าเพิ่มของเดือนถัดไป ก็ขอคืนเป็นเงินสด (ฝช้แบบ ภ.พ. 30 เป็นแบบคำร้องขอคืน)
เครดิตภาษีซื้อเหลืออยูาจากการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย) ผู้ประกอบการมีสิทธินำไปชำระภาษีมถูลค่าเพิ่มของเดือนถัดไปได้
การรับผิดในการเสียภาษี
การขายสินค้าหรือการให้บริการบางกรณี
ในกรณ๊ที่ผู้ประกอบการมีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการมีไว้เพื่อประกอบกิจการ
ในกรณ๊ที่ผู้ประกอบการมีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการมีไว้ในการประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ
ในกรณีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
ในกรณ๊ที่ผู้ประกอบการนำสินค้าไปใช้โดยตนเองหรือบุคคลอื่น
การขายสินค้าตามสัญญาจะขายสินค้า
การให้บริการโดยการชำระราคาด้วยการใช้บัตรเครดิต
การขายสินค้าโดยการชำระราคาด้วยการใช้บัตรเครดิต
การขายสินค้าหรือการให้บริการด้วยเครื่องอัตโนมัติชำระราคาด้วยวิธีการหยอดเหรียญ บัตร
การขายสินค้าที่ไม่มีรูปร่าง
การขายกระแสไฟฟ้า น้ำประปา หรือสินค้าที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน
การนำเข้า
การนำเข้าสินค้าที่จำแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากร
การนำเข้ากรณีของตกค้าง
การนำเข้ากรณีนำสินค้าออกจากเขตอุตสาหกรรมส่งออกโดยมิใช่เพื่อการส่งออก
การนำเข้าสินค้าทั่วไป
การให้บริการที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 และโอนสิทธิในการบริการให้ผู้รับโอน
การให้บริการที่กระทำในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นนราชอาณาจักร
การให้บริการตามสัญญาที่กำหนดค่าตอบแทนตามส่วนของบริการทีทำ
การให้บริการทั่วไป
การขายสินค้าที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 และโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้าให้ผู้รับโอน
โอนกรรมสิทธิ์สินค้า
การขายสินค้าโดยส่งออก
วันที่นำสินค้าไปในเขตอุตสาหกรรมส่งออก
ชำระอากรขาออก วางหลักประกันอากรขาออกหีือจัดให้มีผู้ค้ำประกันขาออก
การขายสินค้าโดยมีการตั้งตัวแทนเพื่อขายและได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ตัวแทนแล้ว
ส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ซ้อ
การขายสินค้าตามสัญญให้เช่าซื้อ
กำหนดชำระราคาแต่ละงวด
การขายสินค้าทั่วไป
ส่งมอบสินค้า
การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
กรณีมีการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าพเิ่ม
ใบทะเีบยภาษีมูลค่าพเิ่ม
เมื่อเจ้าพนักงานได้รับคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบ ภ.พ.0 พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องครบถ้วนแล้ว จะมีการออกใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม คือใบทะเบียน ภ.พ.20
สถานที่จดทะเบียน
กรณีสถานประกอบการหลายแห่ง ให้ยื่นคำขอจดทะเบียนได้ที่ สำนักงานสรรพากรพื้นที่
กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อำเภอ) ในเขตท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
กรณีถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่
แบบคำขอจดทะเบียนและเอกสารหลักฐาน
การขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นผู้ประกอบการต้องแสดงสถานภาพต่างๆของการประกอบการให้ครบถ้วนมีสาระสำคัญ
การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มที่ให้ใช้แบบ ภ.พ.01
กำหนดระยะเวลาการจดทะเบียน
ผู้ประกอบการวึ่งจะเริ่มประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
สำหรับผู้ประกอบการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มแต่มีสิทธิขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
สำหรับผู้ประกอบการที่มีรายรับเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ให้ยื่คำขอจดทะเบียน ภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีรายรับเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
ผู้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรและเข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือบริการในราชอาณาจักรเป็นครั้งคราว
ผู้ปะรกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรและเข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการในราชอาณาจักร
ผู้ประกอบการอื่นตามที่อธิบดีจะประกาศกำหนเมื่อมีเหตุอันสมควร
ผู้ประกอบการที่ได้รับบริการจากต่างประเทสและได้ใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร
ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย
ผู้ประกอบการที่มีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
ฐานภาษี
กรณีอื่นที่กฎหมายกำหนดไว้เป็นกรณีพิเศษ
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มของฐานภาษีที่มีมูลค่าเป็นเงินตราต่างประเทศ
ในกรณ๊นำเข้าสินค้าให้คำนวณตามราคา C.I.F. ของสินค้าที่นำเข้าเป็นเงินตราต่างประเทศ เป็นเงินตราไทยตามอัตราที่กรมศูลกากรใช้คำนวณเพื่อเรียกเก็บอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร
ในกรณ๊ได้รับเงินตราต่างประเทศจากการขายสินค้า
การคำนวณการขายสินค้าหรือการให้บริการทั่วไป
การขายสินค้าในกรณีผู้ประกอบการมีสินค้าคงเหลือ
การขายสินค้าที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 และภายหลังได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้าอันทำให้ผู้รับโอนสินค้ามีหน้าที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
การขายสินค้าหรือการให้บริการในกรณ๊ที่ผู้ประกอบการนำสินค้าไปใช้หรือได้ใช้บริการไม่ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอื่น
การขายสินค้าหรือการให้บริการโดยไม่มีค่าตอบแทนหรือมีค่าตอบแทนต่ำกว่าราคาตลาดโดยไม่มีเหตุอันสมควร มูลค่าของฐานภาษีให้ถือตามราคาตลาดของสินค้า
การนำเข้าและการขายยาสูบ น้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ฐานภาษ๊สำหรับการนำเข้าและการขายน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
สำหรับการขายน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
สำหรับการนำเข้าน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
ฐานภาษีสำหรับการนำเข้าและการขายยยาสูบ
สำหรับการขายยาสูบในราชอาณาจักร
สำหรับการนำเข้ายาสูบ
การนำเข้าสินค้า
ฐานภาษีสำหรับการนำเข้าสินค้าที่จำแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับการยกเว้น
ฐานภาษีสำหรับการนำเข้าสินค้าทุกประเภท
การขายสินค้าหรือการให้บริการเฉพาะอย่าง
ฐานภาษีสำหรับการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ
ในกรณ๊รับขนสินค้า
ในกรณีขนคนโดยสาร
ฐานภาษีสำหรับการส่งออก
การขายสินค้าหรือการให้บริการทั่วไป
การจำหน่าย
มูลค่าของทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบกิจการ
มูลค่าของทรัพย์สินหรือสินค้า ซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนบริจาคให้แก่ส่วนราชการตามโครงการของทางราชการ
มูลค่าการให้บริการขนส่งก๊าซทางท่อที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนให้แก่ผู้รับบริการซึ่งเป็นริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
มูลค่าการให้บริการรับประกันวินาศภัยตามกฎหมาย่าด้วยการประกันวินาศภัยของผู้ประกอบการจดทะเบียน เฉพาะการให้บริการแก่บรรษัทประกันต่อแห่งเอเชียที่กระทำตั้ฃแต่วันที่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้นไป
มูลค่าของน้ำมันดีเซลที่ผุ้ประกอบการจดทะเบียนได้ผลิตและขายดังกล่าวตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2544
มูลค่าของทองรูปพรรณ
มูลค่าของสลากวินโต๊ดและเปร็ซโต๊ดที่ประกอบการสนามแข่งม้าขายให้แก่เล่นพนันแข่งม้าเป็นจำนวนเท่ากับจำนวนเงินรางวัลที่จะต้องจ่ายคืนให้แก่ผู้เล่นพนันแข่งม้าดังกล่าว
มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนไว้ขายหรือให้บริการแก่ผู้ซื้อหรือผู้รับบริการซึ่งเป็น
(ข) ผู้ขายสินค้าหรือให้บริการซึ่งได้ทำสัญญาเป็นหนังสือโดยตรงกับผู้ทำสัญญาแบ่งปันรายงานตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกำหนด
(ก) ผู้ทำสัญญาแบ่งปันผลผลผลิตกับองค์กราร่วมไทย-มาเลเซีย
มูลค่าของเครื่องแบบที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นนายจ้างได้มอบให้แก่ลูกจ้างในจำนวนคนละไม่เกินองชุดต่อปี และเนื้อนอกจำนวนคนละไม่เกินหนึ่งตัวต่อปี
(ค) สินค้าที่มอบให้ลูกค้าใช้ก่อนซื้อนั้น
(ข ระยะเวลาที่ให้ลูกค้าทดลองใช้สินค้านั้น
(ก) สินค้าที่มอบให้ลูกค้าทดลองใช้ก่อนซ้อต้องเป็นสินค้าที่มีไว้สำหรับทดลองโดยเฉพาะเท่านั้น ถ้าลูกค้าตกลงซื้อต้องเป็นสินค้าตัวใหม่ที่ชนิดเดียวกันให้,ุกค้า
มูลค่าของสินค้าที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนมิใช่ผู้ประกอบการจดทะเบียน
มูลค่าของอาหารและเครื่องดื่มที่นายจ้างจัดหาให้กับพนักงานหรือลูกจ้างในระหว่างเวลาปฏิบัติงานตามระเบียบเกี่ยวกับสวัสดิการพนักงานหรือลูกจ้างโดยมูลค่าของอาหารและเครื่องดื่มดังกล่าวต้องมีราคาไม่เกินสมควร
มูลค่าของสินค้าตัวอย่างที่แจก เนื่องจากการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการขาย
มูลค่าของสินค้าที่แจกให้เป็นของขวัญ
มูลค่าของการขายสินค้าของผู้ประกอบการในเขตอุตสาหกรรมส่งออกแก่ผู้ซื้อสินค้าในราชอาณาจักร และมีการเสียภาษ๊มูลค่าเพิ่มจากการนำเข้าแล้ว
มูลค่าของการให้บริการอันเนื่องจากการเป็นน่ายหน้าัวแทนให้แก่ผู้ประกอบการในต่างประเทศ
มูลค่าของสินค้าที่แจกหรือให้เ็นรางวัลที่ผู้ซื้อสินค้าแต่ละวัน
มูลค่าของสินค้าที่แถมหร้อมกับการขายสินค้า
มูลค่าของฐานภาษีไม่ให้รวมถึง
ภาษีขาย
ค่าชดเชยหรือเงินอุดหนุนตามที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติจากรัฐมนตรี
ส่วนลดหรือค่าลดหย่อน
อัตราภาษี
อัตราร้อยละ 0
การขายสินค้าหรือการให้บริการของคลังสินค้าทัณฑ์บนและของผู้ประกอบการที่อยู่ในเขตอุตสาหกรรมส่งออก
การขายสินค้าหรือการให้บริการกับองค์การสหประชาชาติ สถานทูต สถานกงศุล
การขายสินค้าหรือการให้บริการกับส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามโครงการเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ
การขายสินค้านราชอาณาจักรและใช้บริการนั้นในต่างประเทศ
การส่งออก
อัตราทั่วไป
ภาษีซื้อต้องห้าม
ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีซึ่งออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษ๊
ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรองหรือเพื่อการอันมีลักษณะทำนองเดียวกัน
ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผู้ประกอบการจดทะเบียน
กรณีมีใบกำกับภาษี แต่ใบกำกับภาษีดังกล่าวมีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญตามมาตรา 86/4
กรณีมีใบกำกับภาษ๊ แต่ไม่อาจแสดงใบกำกับภาษีได้ว่ามีการชำระภาษีซื้อ
กรณีไม่มีใบกำกับภาษี
ภาษีซื้อที่่ต้องห้ามตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปแบบ
ภาษีซื่อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป
ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป
ภาษีซื้อตามใบำกกับภาษีเต็มรูปแบบที่รายการข้อความ หรือคำว่า "ชื่อ ที่อยู่ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีของผู้ประกอบการ"
ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปแบบที่รายการคำว่า "ใบกำกับภาษี"
ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคารหรืออสังหาริมทรัพย์อื่น
ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือรับบริการ
ภาษีซื้อที่เฉลี่ยเป็นของกิจการที่ไม่ต้องเสียภาษีมู,ค่าเพิ่ม
ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อทรัพย์สินเพื่อใช้ หรือจะนำไปใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายของกิจการ
ภาษีตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ
ภาษีที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ หรือรับโอนรถยนต์ที่มิใช่รถยนต์นั่ง และรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งเกิน 10 คน
ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ เช่า หรือรับโอนรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คนตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
นางสาวนันทิชา พรหมมาศ 61104261 No.68 Sec.2
การจัดทำรายงานทางภาษี
รายงานสินค้าและวัตถุดิบ
การเก็บรักษาเอกสาร หลักฐาน ใบกำกับภาษีและรายงานในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
วิธีการลงรายการใบรายงานภาษีขาย รายงานภาษีซื้อ รายงานสินค้าและวัตถุดิบ
การกรอกรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
ปริมาณสินค้า วัตถุดิบ
เลขที่ใบสำคัญ
ภาษีซื้อ
การกรอกรายงานภาษีซื้อ
เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ขายสินค้า/ผู้ให้บริการ
ชื่อผู้ขายสินค้า/ผู้ให้เบริการ
ใบกำกับภาษี
เลขที่
ลำดับที่
เอกสารที่ใช้ประกอบการลงรายการภาษีซื้อ
เอกสารหลักฐานอื่นๆ เช่น ใบเพิ่มหนี้ ลดหนี้
ใบเสร็จรับเงินของกรมศุลกากร
ใเสร็จรับเงินของกรมสรรพากร
ใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/5 เฉพาะที่มีลักษณะเป็นใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป
ใบกำกับภาษีเต็มรุปตามมาตรา 86/4
รายการที่ทำให้ยอดลดลง
การส่งคืนสินค้า
รายการที่ทำให้ยอดในรายงานภาษีซื้อ
การรับริการ และอื่นๆ
การซื้อ การเช่าซื้อ
การซื้อ การนำเข้าวัตถุดิบ
รายงานภาษีขาย
การกรอกรายงานภาษีขาย
สถานประกอบการ
เลขประจำตัวผู้เสียภาษีของผู้ซื้อสินค้า / ผู้รับบริการ
ชื่อผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
เล่มที่ / เลขที่
วัน เดือน ปี
รายการสินค้าที่ทำให้ยอดลดลง
การลดราคาสินค้า
การรรับคืนสินค้าที่ชำรุดบกพร่อง
รายการที่ทำให้ยอดทางภาษีเพิ่มขึ้น
มีสินค้าคงเหลือและทรัพย์สินที่ใช้ในประกอบกิจการ ณ วันเลิกกิจการแต่ไม่รวมถถึงสินค้า
มีสินค้าาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
หนี้สูญได้รับคืน
การนำสินค้าหรือการบริการไปใช้เพื่อการอื่นใด
การส่งมอบสินค้าห้ตัวแทนเพื่อขาย (ฝากขาย)
การให้เช่าซื้อสินค้า
การขายสินค้าหรือการให้บริการในราชอาณาจักร รวมทั้งการส่งออก
การยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษี
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษี
กรณีสถานประกอบการั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคำขอจดทะเบียนที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อำเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (เขต/อำเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
วิธีการชำระภาษี
ชำระด้วยเช็คขีดคร่อม สั่งจ่ายแก่กรมสรรพากร โดยขีดฆ่าคำว่า ผู้ถือและหรือตามคำสั่ง
ชำระเป็นเงินสด
กลุ่มที่ 3 ผู้นำเข้า
แบบแสดงรายการที่ใช้ในการยื่นแบบแสดงราายการการชำระภาษี
กลุ่มที่ 2 ผู้มีหน้าที่นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม
กำหนดเวลาในการยื่นแบบแสดงรายการและนำส่งภาษี
แบบแสดงรายการที่ใช้ในการยื่นแบบแสดงรายการและนำส่งภาษี ได้แก่ แบบ ภ.พ.36
ผู้มีหน้าที่นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร
ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร
กลุ่มที่ 1 ผู้ประกอบกิจการจดทะเบียนภาษ๊มูลค่าเพิ่ม
กำหนดเวลาในการยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
แบบแสดงรายการที่ใช้ในการยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
ผู้ประกอบการจดทะเบียน
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
กลุ่มที่ 1 กิจการที่ได้รับการยกเว้นแต่สามารถเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้
การให้บริการสีข้าว
การขายแสตมปื ไปรษณีย์แสตมป์อากร หรือแสตมป์อื่นของรัฐบาล
การขายสลากกินแบ่งรัฐบาลของรัฐบาล สลากออมสินของรับาล
การขายบุหรี่ซิกาแรต ที่ผลิตโดยโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง
การบริจาคสินค้าให้แก่สถานพยาบาล
การขายสินค้าหรือการให้บริการ
การขายสินค้าหรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม
การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น
การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์
การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน
การให้บริการวิจัย หรือการให้บริการทางวิชาการ
การให้บริการที่เป็นงานทางศิลปะและวัฒนธรรม
การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ
การให้บริการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่าความ
การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น
การให้บริการห้องสมุด พิพิทธภัณฑ์ สวนสัตว์
การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลราชการและเอกชน
การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศทางบกและทางเรือซึ่งมิใช่เรือเดินทะเล
การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักรไม่ว่าตะเป็นทางบก ทางน้ำหรืออากาศ
การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ
การนำเข้าสินค้าของกลุ่มที่ 1 ข้อ 2-7
การขายหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร
การขายยยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้สำหรับพืชหรือสัตว์
การขายปลาป่น อาหารสัตว์
การขายปุ๋ย
การขายสัตว์ทั้งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตในราชอาณาจักร
การขายพืชผลทางการเกษตรในราชอาณาจักร
การขายสินค้าหรือให้บริการของผู้ประกอบการที่มีรายรับไม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
ผู้ที่กฎหมายกำหนดให้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/1
ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการจากต่างประเทศ
ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรและได้เข้ามาประกอบกิจการขายสินค้า
ผู้โอนและผู้รับโอน ในกรณีโอนกิจการ
ผู้ที่ควบเข้ากันและผู้ประกอบการใหม่ ในกรณีที่มีการควบเข้ากัน
ผู้ที่มีความรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร
ผู้รับโอนสินค้าหรือผู้รับโอนสิทธิในการบริการ
ตัวแทน ในกรณีที่ผู้ประกอบการอยู่นอกราชอาณาจักร
ผู้นำเข้า
ผู้ประกอบการหรือบุคคลซึ่งนำเข้า ผู้นำเข้าสินค้าจะต้องเสียภาษีมูลค่าพเิ่มเสมอ โดยไม่คำนึงว่าจะเป็นผู้ประกอบการหรือเป็นบุคคลอื่นซึ่งนำเข้า
ผู้ประกอบการ
ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
การให้บริการที่จะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
(ข) การให้บริการที่ทำในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักรโดยไม่คำนึงว่าการใช้บริการนั้นจะอยู่ในต่างประเทศหรือในราชอาณาจักร
(ก) การให้บริการที่ทำในราชอาณาจักร โดยไม่คำนึงถึงว่าการใช้บริการนั้นจะอยู่ในต่างประเทศหรือในราชอาณาจักร
การขายสินค้าที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องเป็นการขายสินค้าในราชอาณาจักรเท่านั้น
กิจการที่ต้องเสียภาษี
การให้บริการ
กรณีที่กฎหมายไม่ถือว่าการกระทำในบางกรณี "บริการ" ซึ่งไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม มีบัญญัติไว้ตามมาตรา 77/1 (10)(ก)(ข)และ(ค)
การกระทำที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ปัจจุบันยังไม่มีกำหนด
การนำเงินไปหาประโยชน์โดยการฝากธนาคาร หรือซื้อพันธบัตรหรือหลักทรัพย์
การใช้บริการหรือการนำสินค้าไปใช้เพื่อประกอบกิจการของตนเองตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
(ข) บริการที่นำไปใช้กับรถยนต์ หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน
(ก) บริการที่นำไปใช้เพื่อรับรอง หรือเพื่อการอันมีลักษณะทำนองเดียวกัน
การกระทำใดๆ อันหาประโยชน์อันมีมูลค่า ซึ่งไม่ใช่การขายสินค้า
การขายสินค้า
สินค้า
ทรัพย์สินที่มีรูปร่างหรือไม่มีรูปร่างที่อาจมีราคาและถือเอาได้ว่าจะมีไว้เพื่อขายเพื่อใช้ หรือเพื่อการใดๆ และให้หมายความรวมถึงสิ่งของทุกชนิดที่นำเข้า ตามมาตรา 77/1 (9)
ขาย
(ฉ) มีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการ
(จ) มีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตุดิบ
(ง) การนำสินค้าไปใช้ไม่ว่ากรณีใดๆ
(ค) การส่งมอบสินค้านอกราชอาณาจักร
(ข) การส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนเพื่อขาย
(ก) การให้เช่าซื้อสินค้า
จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่ ตามมาตรา 77/1 (8)
บุคคล ตามมาตรา 77/1(1)
นิติบุคคล
คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
บุคลลธรรมดา