Categorii: Tot - อาการ - นักศึกษา - ปัจจัย - สมมติฐาน

realizată de Thawanrat Na Phatthalung 4 ani în urmă

351

สำรวจอาการที่เกิดจากการนอนหลับไม่เพียง ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรบัญชีมหาวิทยาลัยว�

การศึกษานี้มีเป้าหมายเพื่อสำรวจผลกระทบของการนอนหลับไม่เพียงพอต่อนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในหลักสูตรบัญชี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยมีการศึกษาอาการที่เกิดขึ้นจากการนอนหลับไม่เพียงพอ การวิจัยนี้มีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา 50 คน จากสำนักวิชาการจัดการ สาขาบัญชี โดยเน้นถึงตัวแปรหลักที่เกี่ยวข้องได้แก่ ระดับการศึกษา อายุ และการนอนหลับไม่เพียงพอ นอกจากนี้ยังมีการให้คำนิยามโรคนอนไม่หลับในหลายรูปแบบ เช่น โรคนอนไม่หลับทั่วไป ภาวะหลับช้า ภาวะตื่นกลางคืน และภาวะตื่นเช้ากว่าปกติ ทฤษฎีที่นำมาใช้ในการวิจัยประกอบด้วย Information Consolidation Theory of Sleep และ Repair and Restoration Theory of Sleep ผลการวิจัยนี้จะให้ประโยชน์สำคัญในการเข้าใจปัญหาการนอนหลับไม่เพียงพอและแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพื่อให้การนอนหลับของนักศึกษามีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

สำรวจอาการที่เกิดจากการนอนหลับไม่เพียง
ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรบัญชีมหาวิทยาลัยว�

สำรวจอาการที่เกิดจากการนอนหลับไม่เพียง ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรบัญชีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

สำรวจอาการที่เกิดจากการนอนหลับไม่เพียงพอ

ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรบัญชี

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ขอบเขตของการวิจัย

ขอบเขตเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องศึกษา
ตัวแปรควบคุม : ระดับการศึกษา (นักศึกษาบัญชีปี 1),อายุ 18-19
ตัวแปรตาม : อาการที่เกิดขึ้น
ตัวแปรต้น : การนอนหลับไม่เพียงพอ
ขอบเขตเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาการจัดการ สาขาบัญชี ชั้นปีที่ 1 จำนวน 50 คน
ขอบเขตเกี่ยวกับเนื้อหา
ศึกษาเกี่ยวกับอาการที่เกิดจากการนอนหลับไม่เพียงพอ

การให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย

4. ภาวะตื่นเช้ากว่าปกติ (TERMINAL INSOMNIA)
3. ภาวะตื่นกลางคืน (MIDDLE INSOMNIA)
2. ภาวะหลับช้า (INITIAL INSOMNIA)
1.โรคนอนไม่หลับ (INSOMNIA)

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

3. ได้ทราบถึงสาเหตุของการนอนหลับไม่เพียงพอ
2. ได้ทราบถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาของการนอนหลับไม่เพียงพอ
1. ได้ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการนอนหลับไม่เพียงพอ

ระเบียบวิจัย

การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
ประมวลผลข้อมูลออกมาเป็นกราฟโดยโปรแกรม EXCEL และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ว่าสมเหตุสมผลกับสมมติฐานหรือไม่
วิธีการเก็บข้อมูล
แชร์ลิงค์แบบสอบถามลงในกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษากดเข้าไปทำ
ประชากรที่จะศึกษา
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สำนักการจัดการ หลักสูตรบัญชี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จำนวน 50 คน
เก็บข้อมูลแบบปฐมภูมิ โดยการใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลขากแหล่งข้อมูล
วิธีวิจัย
การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพแหล่งข้อมูล

สมมติฐาน

3. นักศึกษาส่วนใหญ่มีการนอนหลับเฉลี่ย 3-4 ชม.\วัน
2. การนอนหลับไม่เพียงพอทำให้ร่างกายไม่สดชื่นในตอนตื่นนอน
1.ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการนอนหลับ

คำถามของการวิจัย

3.นักศึกษามีการนอนหลับเฉลี่ยกี่ชั่วโมงต่อวัน
2. อาการใดบ้างที่พบในนักศึกษาที่นอนหลับไม่เพียงพอ
1. ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการนอนหลับ

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ผลการวิจัยเรื่องการนอนหลับกับการทำงานของสมองย้ำถึงความสำคัญของการนอนต่อสุขภาพอนามัยและโรค
งานวิจัยผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองต่อคุณภาพการนอนหลับ
งานวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการนอน
Repair and Restoration Theory of Sleep ทฤษฎีที่ว่าด้วย การซ่อมแซมและการฟื้นฟู
INFORMATION CONSOLIDATION THEORY OF SLEEP ทฤษฎีนอนหลับเพื่อจัดการข้อมูลที่ได้รับในแต่ละวัน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เพื่อศึกษาอาการท่ีเกิดกับนักศึกษา ที่นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
เพื่อสํารวจปริมาณนักศึกษาที่นอนหลับไม่เพียงพอ

ความสำคัญและที่มาของปัญหา

การนอนหลับเป็นความจํา เป็นขั้นพื้นฐานของ มนุษย์ทุกคน มนุษย์ใช้เวลาถึงหนึ่งในสามของชีวิตใน การนอนหลับ คุณภาพการนอนหลับมีความสําคัญและ เป็นตัวบ่งชี้ถึงภาวะสุขภาพ ความผาสุก และวิถีการ ดําเนินชีวิตที่มีสุขภาพดีของบุคคล ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ หากบุคคลใดมีปัญหาด้านการนอนจะทําให้มี สุขภาพที่ไม่แข็งแรง กล่าวคือบุคคลนั้นอาจมีอาการ เพลีย เหนื่อยง่าย อ่อนล้า และง่วงนอนในตอนกลางวัน เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 18-25 ปี เด็ก วัยรุ่นควรมีเวลานอนโดยเฉลี่ยวันละ 8 ถึง 10 ชั่วโมง เพื่อช่วยคงความสมดุลของระดับฮอร์โมนที่มีความ สําคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศ ซ่อมแซมส่วนที่สึก หรอ ของร่างกาย ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาอาการที่เกิด จากการนอนหลับไม่เพียงพอของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อสํารวจปริมาณนักศึกษา ที่นอนหลับไม่เพียงพอ และศึกษาอาการที่เกิดกับ นักศึกษาที่นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ