Categorias: Todos - สารสนเทศ - การเรียนรู้ - ความรู้ - นวัตกรรม

por Anna Jainae 6 anos atrás

137

knowwledge society

สังคมความรู้คือสังคมที่การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศเป็นปัจจัยสำคัญ โดยสถาบันในพื้นที่มีบทบาทหลักในการริเริ่มและดำเนินการ สังคมแห่งการเรียนรู้เน้นให้ทุกคนเป็นทั้งครูและผู้เรียน ประชาชนได้รับโอกาสในการพัฒนาและมีความรับผิดชอบร่วมกัน นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้งของการเรียนรู้

สังคมความรู้แบ่งเป็นสองยุค ยุคแรกเน้นพลังและอำนาจในการผลิต มีการแข่งขันและกลไกตลาด นักวิชาการมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้ ยุคที่สองเน้นความพอเพียง สมดุล และการบูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของและใช้ความรู้เพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน นักวิชาการและนักวิชาชีพทำหน้าที่เป็นตัวกลางข้อมูลเพื่อการวิจัยแบบบูรณาการ สุดท้าย ความรู้ทั่วไปและสารสนเทศมีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้

knowwledge society

knowwledge society

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)

คือ สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสาระสนเทศ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

3.อธิบายกระบวนการจัดการความรู้ได้
2.อธิบายความหมาย ประเภทของความรู้ได้
1.อธิบายลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ในแต่ละยุคได้

ความรู้ (Knowledge)

ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจำนวนและคุณภาพ
ความรู้ทั่วไป
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้

ยุคสังคมความรู้ (Knowledge Society Era) แบ่งออกเป็น 2 ยุค

สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และพึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณาการ
สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพจะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง