por Anurak Petsuk 5 anos atrás
584
Mais informações
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง เครื่องมือและรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่อ านวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นรายการสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วทันความต้องการ โดยทั่วไปเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศที่มีการใช้กันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ การสืบค้น สารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์และ การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งรวบรวมเว็บไซต์ซึ่งเก็บข้อมูลต่างๆไว้มากมาย แต่ละเว็บไซต์จะมี ชื่อโดเมน (Domain name) ที่ไม่ซ้ ากัน และมีมากกว่า 45 ล้านชื่อในโลก โดยเรียกคอมพิวเตอร์ที่ จัดเก็บ และคอยให้บริการข้อมูลของเว็บไซต์ว่าเว็บเซิร์ฟเวอร์(Web Server) หรือเว็บไซต์โดย รายละเอียดและตวัอยา่ งการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ปรากฎในภาคผนวก ก2 8 อาศัยโปรแกรม Web Browser (เช่น Internet Explorer, Netscape, Opera หรือ Firefox เป็น ต้น) ซึ่งเว็บไซต์ทั่วโลกได้จัดเก็บเว็บเพจไว้ถึงพันล้านเว็บเพจ โดยมีสารสนเทศที่เป็นข้อความ ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง โดยสามารถที่เชื่อมโยงไปยังเอกสารหรือข้อมูลอื่น ๆ ได้โดยตรง ดังนั้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตได้ให้ประโยชน์แก่ผู้ใช้ในด้านต่างๆ มากมาย เช่น เพื่อ การค้นหาข้อมูลข่าวสารในเรื่องที่ต้องการ เพื่อมีส่วนร่วมในการอภิรายโต้ตอบ และแสดงความ ความคิดเห็นกับบุคคลที่อยู่ในสาขาวิชาชีพเดียวกัน หรือมีความสนใจในเรื่องเดียวกัน และเพื่อ ติดตามข่าวคราวความเคลื่อนไหวต่างๆ (ศรีอร เจนประภาพงษ์, 2542 ; Dochartaigh, 2002) เวิล์ดไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW) เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ ให้บริการค้นหาและน าเสนอสารสนเทศซึ่งประกอบไปด้วยเว็บเพจที่เป็นสาระและเป็นประโยชน์ มหาศาล ซึ่งผู้ใช้จึงควรท าความเข้าใจในเนื้อหา (Content) ของเอกสารที่มักปรากฏบน WWW เพื่อที่จะได้น าไปเป็นแนวทางสืบค้นได้ ซึ่งลักษณะเนื้อหาที่มีให้บริการใน WWW
เป็นฐานข้อมูลที่ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ โค รงก าร Thai Library Integrated System เช่ าใช้ ฐ าน ข้อมู ล วิช าก ารโด ยมีส านั กงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย เพื่อให้มหาวิทยาลัยของรัฐร่วมกันใช้บริการ สืบค้นสารสนเทศ ภายใต้ฐานข้อมูลต่างๆ ด
คือฐานข้อมูล ออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้โดยมี การจ ากัดระยะเวลาในการใช้นั้นคือจะสามารถใช้ฐานข้อมูลได้ในระหว่างเป็นสมาชิกของฐานข้อมูล นั้นในระยะเวลาที่ก าหนด ตัวอย่าง ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์บอกรับเป็นสมาชิกพร้อมขอบเขตเนื้อหา
เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศซึ่งปรับเปลี่ยนจากรูปแบบบัตรรายการในตู้บัตรรายการมาเป็น ระเบียนบรรณานุกรมในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมีชุดค าสั่งการสืบค้นที่ใช้ง่าย สะดวก มีรายการ ทางเลือกของขั้นตอนการท างานอยู่หน้าจอ ผู้ใช้เพียงปฏิบัติตามค าสั่งหรือค าแนะน าที่ปรากฎ จากนั้นจะสามารถสืบค้นข้อมูลได้บางห้องสมุดได้ออกแบบ OPAC ให้มีลักษณะเป็นกราฟิก (Graphic User Interface-GUI) เพื่อการใช้ที่ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้นส าหรับผู้สืบค้น และสามารถ เข้าสืบค้นได้โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต ดังนั้นจึงมักเรียก OPAC ที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ว่า Web Pac การสืบค้นสารสนเทศจาก OPAC ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลายทาง เช่น ชื่อผู้ แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ค าส าคัญ เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งผู้สืบค้นทราบข้อมูลส่วนใด ก็เพียง เลือกทางเลือกในการสืบค้น และพิมพ์ค าค้นลงไป ระบบจะด าเนินการสืบค้น เมื่อพบรายการที่ ต้องการ ระบบจะแสดงผลออกมา นอกจากนี้ผู้สืบค้นสามารถใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูง เช่น ตรรกบูลีน หรือการจ ากัดการค้นด้วยเขตข้อมูล เข้ามาร่วมในการสืบค้นได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโปรแกรม ที่ห้องสมุดแต่ละแห่งเลือกใช้ซึ่งมีค าแนะน าขั้นตอนและวิธีการสืบค้นจะปรากฏบนหน้าจอเสมอ ผู้ใช้เพียงท าตามค าแนะน าที่บอกให้ไปตามล าดับ