การสืบค้นสารเทศและความรู้
การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต
5. เทคนิคอื่นๆ
4. เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น
3. เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง
2. เทคนิคการตัดคำ
1. เทคนิคตรรกบูลลีน
แบ่งได้ออกเป็น 3 ลักษณะคือ
1.1 การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น เช่นเดียวกับการสืบค้นในระบบออนไลน์อื่นๆ โดยเครื่องหมาย หรือตัวกระท าของตรรกบูลลีนจะแตกต่างกันไปในแต่ละกลไก บางกลไกสามารถใช้ค าว่า And, Or, Not
ประกอบในประโยคการค้นได้โดยตรง บางกลไกใช้เครื่องหม าย &
(ampersan), I (pipe) แ ล ะ ! (exclamation) แท น ค า ว่ า And, Or, Notตามลำดับเช่นใน Altavista เป็นต้น
1.2 การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการสืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับคำค้นอย่างไร เช่น Match all words, match anywords, must contain, must not contain เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการสืบค้นเช่นนี้ ได้แก่ Lycos, Hotbot, Excite เป็นต้น
1.3 การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) กำหนดหน้าคำค้นที่ต้องการเครื่องหมาย + หมายถึงในผลการค้นต้องมีค าที่ก าหนดนั้น และเครื่องหมาย –
หมายถึงไม่ต้องการให้พบคำนั้นในผลการสืบค้น กลไกที่ลักษณะการสืบค้น
เช่นนี้ ได้แก่ Excite, Lycos, Altavista, Google เป็นต้น
องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)
3) โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor)
ทำหน้าที่เปรียบเทียบความเกี่ยวข้องระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของผู้สืบค้นว่ามีความเกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใด จากนั้นจะจัดลำดับความเกี่ยวข้องของเว็บต่าง ๆออกมาแสดงผล
2) ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog
เป็นฐานข้อมูลทำหน้าที่รวบรวมคำและตำแหน่งทุกๆ เพจที่ตัวสำรวจรวบรวมมาได้ ในส่วนนี้จะมีโปรแกรมช่วยในการจัดทำ
ดรรชนีเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสารสนเทศได้สะดวกขึ้น วิธีการจัดทำดรรชนีในแต่ละกลไกการสืบค้นมักจะแตกต่างกันไป เช่น บางโปรแกรมทำดรรชนีให้แก่คำทุกคำบางโปรแกรมทำดรรชนีให้เฉพาะส่วนชื่อเรื่องและหัวข้อใหญ่ เป็นต้น นอกจากนี้สารสนเทศที่ทำการจัดเก็บในฐานข้อมูลหรือในดรรชนีจะมีเฉพาะ URL ของเอกสารเท่านั้น เมื่อผู้สืบค้นพบแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ กลไกจึงทำการเชื่อมโยงผู้สืบค้นไปยังแหล่งนั้นโดยตรง ฐานข้อมูลมิได้รวบรวมสารสนเทศทั้งหมดของแต่ละแหล่งสารสนเทศเอาไว้
1) ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot)
เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสำรวจเว็บ โดยจะทำหน้าที่ตระเวณไปยังเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อทำการรวบรวมสารสนเทศ และส่งกลับมายังดรรชนีหรือฐานข้อมูลเพื่อทำการประมวลผล
เว็บไซต์ที่ทำหน้าที่ค้นข้อมูลมี 2 ประเภท คือ แบบนามานุกรมบนเว็บไซต์ (Web Directories) และ แบบที่เป็นเครื่องมือสืบค้น (Search Engines) เป็นโปรแกรมท าหน้าที่ค้นหาสารสนเทศบนเวิล์ดไวด์เว็บ
การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ หรือที่เรียกว่า OPAC (Online Public Access Catalog)
ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)
เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN)
ชื่อวารสาร (Journal)
ื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal)
ปี(Year)
ชื่อเรื่อง (Title)
ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)
เลขมาตรฐาน (ISBN)
หัวเรื่อง (Subject)
สถานที่ (Location)
หมายเหตุ (Note)
รูปเล่ม (Description)
เลขเรียกหนังสือ (Call number)
สถานภาพ (Status) สถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ
On Reserved
หนังสือจอง
On Hold
ถูกจอง
Missing
หนังสือหาย
Repaired
ส่งซ่อม
Due 16Aus18
ถูกยืมออก
Non Circ
ห้ามยืมออก
Available
ยืมได้
ดูที่ชั้นเก็บ
พิมพลักษณ์ (Imprint) ประกอบด้วยครั้งที่พิมพ์ (Edition) สถานที่พิมพ์
(Place) ได้แก่เมืองและประเทศ สำนักพิมพ์(Publisher) และปีที่พิมพ์(Year
of publication)
ชื่อเรื่อง(Title)
ชื่อผู้แต่ง (Author)
วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่
รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการ
นั้นๆ
หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่
รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว ซึ่ง
จะประกอบไปด้วยชื่อเรื่อง ชื่อผู้รับผิดชอบ และปีพิมพ
ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก เช่น เลือก
ทางเลือกผู้แต่ง พิมพ์ชื่อผู้แต่ง เลือกทางเลือกคำสำคัญ พิมพ์ คำสำคัญที่ต้องการสืบค้น เป็นต้น
จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้
เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เป็นต้น
เป็นเครื่องมือที่บันทึกรายละเอียดข้อมูลบรรณานุกรมของทรัพยากร
สารสนเทศที่มีในห้องสมุดไว้ในฐานข้อมูลบรรณานุกรมด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์
บทสรุป
การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล OPAC ฐานข้อมูลออนไลน์และบอินเทอร์เน็ตนั้นเป็นความสามารถของแต่ละบุคคล ซึ่งความสามารถดังกล่าวประกอบไปด้วยทักษะ และเทคนิคของการสืบค้น ซึ่งผู้สืบค้นแต่ละคนจะมีมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับการฝึกฝนและพัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ผู้สืบค้นควรมีทักษะของการคัดเลือกและการประเมินสารสนเทศที่ได้รับจากอินเทอร์เน็ตร่วมด้วย ขณะเดียวกันผู้สืบค้นก็ต้องรู้จักวิธีการที่คัดเลือกและประเมินสารสนเทศที่ค้นได้ในแต่ละครั้งด้วย เพื่อที่จะได้น าสารสนเทศที่มีคุณค่า ถูกต้อง และตรงกับความต้องการของตนเองไปใช้งานได้อย่างเหมาะสม
Subtopic
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
ประเภทของฐานข้อมูลออนไลน์
ฐานข้อมูลทดลองใช้ฐานข้อมูลลักษณะนี้ เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือ
ศูนย์สารสนเทศนำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน ก่อนที่ศูนย์สารสนเทศจะตัดสินใจซื้อหรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นจริงๆ
เช่น EBSCO Host เป็นต้น
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก
คือฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือ
ซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้
เช่น IOP Electronic Journals, Wilson Omnifile, AGRICOLA เป็นต้น
ฐานข้อมูลออนไลน์(Online Database)
เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และขอบเขตกว้างขวาง ซึ่งผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นเพื่อให้บริการสำหรับผู้ที่ต้องการสืบค้นสารสนเทศ โดยไม่มีข้อจำกัดในด้านระยะทาง ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ตาม
5. เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล เพื่อให้ระบบทราบว่า
ต้องการรายการใดบ้างในพิมพ์ผลออกทางกระดาษ
4. แสดงผลการสืบค้น เมื่อสืบค้นจนได้ปริมาณรายการที่พอเพียงกับความต้องการแล้วสามารถแสดงผลรายการที่สืบค้นได้ 3 รูปแบบใหญ่คือ
4.1 การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบ แสดงผลทุกเขตข้อมูลที่รายการนั้นมีอยู่
4.2 การแสดงผลแบบย่อ แสดงผลเฉพาะรายการทางบรรณานุกรมเท่านั้น
4.3 การแสดงผลแบบอิสระแสดงผลที่กำหนดเขตข้อมูลในการแสดงผลด้วย
ตัวเอง
3. ลงมือสืบค้น โดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้ 2 วิธีคือการใช้เมนูในการสืบค้น และการสืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่ง การสืบค้นโดยใช้เมนูสามารถทำได้ง่าย ไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลที่สืบค้นมากนัก แต่การสืบค้นโดยใช้คำสั่ง ผู้ใช้จำเป็นต้องศึกษาคำสั่งต่างๆ ในการสืบค้น โดยฐานข้อมูลแต่ละฐานที่จัดทำโดยบริษัทที่แตกต่างกัน มักมีวิธีการสืบค้นที่แตกต่างกันด้วย
2. เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม ทั้งนี้ต้องทราบว่าเรื่องที่สืบค้นนั้นเป็นเรื่องในสาขาใด เลือกฐานข้อมูลให้ตรงหรือใกล้เคียงกับสาขาวิชาที่สืบค้น เพื่อช่วยให้ได้ผลการสืบค้นที่ตรงกับความต้องการ
1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ในการค้น การวิเคราะห์ เรื่องที่ต้องการสืบค้นคือ ต้องรู้ว่าต้องการข้อมูลในเรื่องใด แล้วจึงกาหนดเรื่องที่
ต้องการค้นเป็นคำสำคัญในการสืบค้น
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ สามารถใช้เทคนิคการสืบค้นอย่างง่าย หรือเทคนิคการสืบค้นขั้นสูงได้เช่นเดียวกับการสืบค้นอื่นๆ