ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
สมมติฐาน
คำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลต่อปัญหาที่ศึกษา หรือการเดาที่ใช้หลักเหตุผลใช้ปัญญา และเขียนอยู่ในลักษณะของข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
เป้าหมายของการวิจัย
มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา
แหล่งที่มาของสมมติฐาน
สังเกตพฤติกรรม สังเกตความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ของพฤติกรรมนั้น
ได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ
ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย ที่ได้ทำงานคลุกคลีกับเรื่องนั้นมาก่อน
สนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ
ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
คุณลักษณะของการวิจัย
มีการจดบันทึกข้อมูล และจัดทำรายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวัง และมีการอ้างอิงข้อมูลอย่างถูกต้อง
เป็นกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบ และ
ยอมรับวิธีการได้มาของคำตอบ
ดำเนินการแสวงหาคำตอบที่นำมาใช้ตอบคำถามของปัญหาที่ ยัง
ไม่สามารถแก้ไขได้
กำหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถทดสอบได้และวิธีการที่เหมาะสม
ใช้ความรู้ความชำนาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้ปัญหาที่ตนเองจะทำวิจัย
จะต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง ชัดเจน
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ
จะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน
มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกต
เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้อ้างอิง
เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย
จรรยาบรรณของนักวิจัย
มีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ นักวิจัยพึงมีจิตสำนึกที่จะอุทิศ
กำลังสติปัญญาในการทำวิจัยเพื่อความกาวหน้าทางวิชาการ เพื่อความเจริญและประโยชน์สุขของสังคมและมวลมนุษยชาติ
พึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น นักวิจัยพึงมีใจกว้าง พร้อมที่จะเปิดเผยข้อมูลและขั้นตอนการวิจัย ยอมรับฟังความ คิดเห็นและ เหตุผลทางวิชาการของผู้อื่น
พึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ เพื่อ
ประโยชน์ทางวิชาการและสังคม
ต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย
ต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
มีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต นักวิจัยต้องดำเนินการด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และเที่ยงตรงในการทำวิจัย
มีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการ ที่ทำวิจัยอย่างเพียงพอ
ตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย ตามข้อตกลงที่ทำไว้กับหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัย
ซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการ
ประเภทของการวิจัย
ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำ
วิจัยแบบทดลองที่แท้จริง
มีการควบคุมตัวแปรอย่างเคร่งครัด และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างที่ปราศจากความลำเอียงหรือใช้แบบแผนการสุ่มที่สมบูรณ์
วิจัยกึ่งทดลอง
เช่น การสุ่มตัวอย่าง
วิจัยแบบทดลองเบื้องต้น
การวิจัยสหสัมพันธ์ การวิจัยเชิงสำรวจ
จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย
วิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร
วิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
วิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร
จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย
วิจัยแบบต่อเนื่อง
วิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น
จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์
วิจัยทางสังคมศาสตร์
พฤติกรรมของมนุษย์ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม การเมือง
วิจัยทางวิทยาศาสตร์
ปรากฏการณ์ที่มักจะเกิดขึ้นตามธรรมชาติที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
วิจัยเชิงบรรยาย
บรรยายคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามสภาพการณ์ธรรมชาติของปรากฏการณ์นั้น ๆในปัจจุบัน
วิจัยเชิงประวัติศาสตร์
อาทิ รูปภาพ สิ่งพิมพ์ บันทึกเหตุการณ์ หรือซากวัสดุ
ต่าง ๆ
จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล
วิจัยเชิงคุณภาพ
วิจัยเชิงปริมาณ
จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย
วิจัยการนำไปใช้
นำผลการวิจัยจากการวิจัยพื้นฐานมาใช้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้ในปัจจุบัน ตัดสินใจ หรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
วิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
แสวงหาความรู้ความจริงเชิงทฤษฎี/ปรากฏการณ์ ที่นำมาใช้ใน การ
สนับสนุน หรือขัดแย้งกับกฎเกณฑ์ หรือทฤษฎีที่มีอยู่
การจัดกระทำข้อมูล
สรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน
Output เป็นขั้นตอนที่นำผลจากการขั้นตอนที่ได้จากขั้น Processing มาเขียนเป็นรายงาน
Processing เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล
Input เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
มีอำนาจในการพยากรณ์
มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป
สามารถตรวจสอบได้ มีข้อมูลหรือหลักฐานที่จะนำมาสนับสนุน
เขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจน
สมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษา
สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง
ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว
อธิบายหรือตอบคำถามได้ ครอบคลุมปัญหาทุกด้าน
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐาน
การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
การนิยามตัวแปร
เกณฑ์ที่เป็นเครื่องชี้บ่งว่าพฤติกรรมที่แสดงออกมานั้น มีความหมาย เช่นใด
สถานการณ์ หรือสิ่งเร้าที่เหมาะสม
นิยามในลักษณะปฏิบัติการ
นิยามในลักษณะของการบอกองค์ประกอบ
หาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
นำคุณลักษณะที่ราบรวมได้มาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อหาองค์ประกอบสำคัญของตัวแปรนั้น
หาคุณลักษณะที่สำคัญจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่าง
เลือกกลุ่มตัวอย่างที่คาดว่ามีคุณลักษณะสอดคล้องกับลักษณะของตัวแปร
ลักษณะและชนิดของตัวแปร
ชนิดของตัวแปร
ตัวแปรสอดแทรก
มีลักษณะต่างกันตรงที่ว่าตัวแปรชนิดนี้ ผู้วิจัยไม่สามารถคาดการณ์
ได้ว่า มีอะไรบ้างและจะเกิดขึ้นเมื่อใด จึงไม่สามารถหาทางควบคุมได้
แปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเกิน
มีลักษณะเหมือนตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม
เป็นตัวแปรที่เป็นผลเมื่อตัวแปรอิสระเป็นเหตุ
ตัวแปรอิสระ
เป็นตัวเหตุทำให้เกิดผลตามมา
ลักษณะของตัวแปร
ตัวแปรนามธรรม
เช่น ความวิตกกังวล ความเกรงใจ ทัศนคติ
ตัวแปรรูปธรรม
เช่น เพศ อายุ ความสูง เชื้อชาติ อาชีพ ระดับการศึกษา
ความหมายของตัวแปร
คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ เช่น คน วัตถุสิ่งของสัตว์ พืช ครอบครัว ขนาดธุรกิจ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นต้น
ประเภทของสมมติฐาน
สมมติฐานทางวิจัย
สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง
สมมติฐานแบบมีทิศทาง
แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย
กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ
ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ
ตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปรอื่นๆ ที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ๆ
กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ
ในการเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปรผลที่แตกต่างกัน
กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ
ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน
กฎเหตุและผลของธรรมชาติ
ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ
ธรรมชาติของการวิจัย
ต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย
มีวิธีการที่หลากหลาย
มีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม
เป็นการแก้ปัญหา
มีเหตุผล
มีความเชื่อมั่น
มีความเที่ยงตรง
มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
เป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ
เป็นกระบวนการเชิงประจักษ์
ขั้นตอนในการวิจัย
ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ส่งแบบสอบถาม เป็นต้น
ใช้แบบวัดเจตคติ
ใช้แบบทดสอบ
สร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
เขียนเค้าโครงการวิจัย
ชื่องานวิจัย, ภูมิหลังหรือที่มาของปัญหา,วัตถุประสงค์,รูปแบบของงานวิจัย เป็นต้น
กำหนดสมมุติฐาน
การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ตำรา หนังสือ วารสาร รายงานการวิจัยและเอกสาร อื่น ๆ
กำหนดขอบเขตของปัญหา
มองเห็นภาพอย่างแจ่มชัดว่าจะต้องทำอะไรบ้าง
รู้ถึงเทคนิคต่างๆ ที่เหมาะสมในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
วางแผนรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสม
เลือกหัวข้อปัญหา
ความหมายของการวิจัย
เพื่อนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ ทางสังคมหรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยำและเชื่อถือได้
สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง
มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว
เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ