Kategorier: Alle - การประเมิน - การวิเคราะห์

av Nuttakorn Chainirattisai 5 år siden

190

Tree organigram

การประเมินและวิเคราะห์สารสนเทศเป็นกระบวนการสำคัญที่ช่วยให้เราสามารถตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ข้อมูลที่เรานำมาใช้ต้องมีความน่าเชื่อถือ ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ การประเมินข้อมูลนั้นต้องพิจารณาถึงความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มา ทั้งจากผู้แต่งและสำนักพิมพ์ นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาถึงระดับของสารสนเทศว่าเป็นข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ หรือตติยภูมิ เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน การสังเคราะห์สารสนเทศจำเป็นต้องนับรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และจัดลำดับเนื้อหาให้เหมาะสม การนำเสนอข้อมูลที่ดีจะช่วยให้การตัดสินใจและการวางแผนเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ

Tree organigram

การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (evaluate,Analysis,Systhesis)

การสังเคราะห์สารสนเทศ

นำเสนอสารสนเทศ
จัดสารสนเทศที่ได้จากแหล่งต่างๆ
ใช้หลายๆวิธีข้างต้นผสมผสานกัน
ตั้งแต่ต้นจนจบ
ลำดีบตามเวลา
เรียงตามลำดับอักษร
การจัดกลุ่มใหญ่/ย่อย

การวิเคราะห์สารสนเทศ

ทำบัตรบันทึกมาจับกลุ่มตามประเด็นแนวคิด เพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหาของรายงานต่อไป
ทำการบันทึกเนื้อหาลงในบัตรบันทึก
ดึงเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆที่เราต้องการจะศึกษา
การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการประเมินแล้วว่า สามารถนำมาใช้งานได้จริง

การประเมินสารสนเทศ

พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด
สารสนเทศตติยภูมิ(Tertiary Information)
สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)
สารสนเทศปฐมภูมิ(Primary Informtion)
พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
ประเเมินความทันสมัยของสารสนเทศ
ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศ เช่น เป็นสื่อที่พิมพ์ หรืออิเล็กทรอนิกส์
ประเมินความน่าเชื่อถือของ ผู้เขียน ผู้แต่ง สำนักพิมพ์
ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ
พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการหรือไม่

การเลือกใช้สารสนเทศ

การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)
การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)
การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่
พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ
พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
ถ้าเป็นสารสนเทศจากอินเตอร์เน็ต ให้ดูว่ามีการเชื่อมโยงรายละเอียดกับเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ หรือมีการทำคำอธิบายประกอบครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด
เป็นสารระสนเทศให้ความรู้ในระดับใด
เป็นสาระสนเทศที่มีเนื่อหาครอบคลุมหัวข้อหรือสาขาวิชาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์หรือไม่
เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ หรือเป็นเพียงบทสรุป บทคัดย่อสาระสังเขป
พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ
พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต
พิจารณาผู้แต่ง
พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความเที่ยงตรง
ความถูกต้องของสารสนเทศ

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน (Up to date)
ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)
ตรวจสอบได้ (Verifiability)
เข้าถึงได้ง่าย (Accessible)
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)
ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)
มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)
ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)

ขั้นตอนการประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

สังเคราะห์(Synthesis)
วิเคราะห์(Analysis)
ประเมิน(Evaluate)
สารสนเทศจากการสืบค้น