av Jindarut Sayamprakhonthanayu 4 år siden
294
Mer som dette
1. ซึมลงกว่าเดิมปลุกไม่ตื่นหรือหมดสติ 2. กระสับกระส่ายการพูดหรือพฤติกรรมผิดปกติ 3. ชักกระตุก 4. แขนขาอ่อนแรง 5. มีไข้ 6. อาเจียน 7. อาการปวดศีรษะที่รับประทานยาแก้ปวดแล้วไม่ทุเลา 8. มีน้ำใสหรือน้ำใสปนเลือดออกจากจมูกหรือลงคอ (ไม่ควรสั่งน้ำมูก) 9. ปวดท้ายทอย 10. เวียนศีรษะตาพร่าหรือเห็นภาพซ้อน 11. อาการผิดปกติอื่นๆที่น่าสงสัย
3. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิ์ ได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนทันที
4. ผู้ป่วยมีสิทธิ์ได้รับทราบชื่อ-สกุล และวิชาชีพของผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน
5. ผู้ป่วยมีสิทธิขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านสุขภาพอื่นและมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ประกอบ วิชาชีพด้านสุขภาพหรือเปลี่ยนสถานพยาบาลได้
6. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลตนเอง เว้นแต่ผู้ป่วยจะให้ความยินยอม
7. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลในการตัดสินใจ เข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้เข้าร่วมหรือผู้ถูก ทดลองในการทำวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
8. ผู้ป่วยมีสิทธิทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล เฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อร้องขอตาม ขั้นตอนของสถานพยาบาลนั้น
9. บิดามารดาหรือผู้แทนโดยชอบธรรมอาจใช้สิทธิ แทนผู้ป่วยเด็กอายุยังไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ผู้บกพร่อง ทางร่างกายหรือจิตซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเองได้
การที่ไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรร 1. ไม่ทำงานเป็นทีมที่ดี 2. ขาดความตระหนักถึงประโยชน์ของผู้ป่วย 3. ไม่ทำตาม cpg 4. ไม่ได้ประเมินความเข้าใจของผู้ป่วย 5. ระบุอาการผิดปกติไม่ชัดเจน
เกณฑ์การจ่ายค่าเยียวยาผู้รับบริการ
เสียชีวิตหรือทุพพลภาพ เยียวยาตั้งแต่ 240,000บาท แต่ไม่เกิน 400,000บาท
สูญเสียอวัยวะหรือพิการ เยียวยาตั้งแต่ 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
บาดเจ็บหรือป่วยต่อเนื่อง เยียวยาไม่เกิน 100,000 บาท
มาตรา 31 ถ้ามีโรคติดต่ออันตรายหรือโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ผู้รับผิดชอบสถานพยาบาล เจ้าของสถานประกอบการ ผู้ทำการชันสูตรแจ้งต่อพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา 32 เมื่อเจ้าพนักงานได้รับแจ้งให้แจ้งคณะกรรมการโรคติดต่อ
มาตรา 33 กรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคติดต่ออันตราย หรือต้องเฝ้าระวังในต่างประเทศให้กรมควบคุมโรค ประสานงานไปกรมควบคุมโรค
หมวด 6 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา 34 เมื่อเกิดโรคติดต่อหรือมีเหตุสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่นั้น มีอำนาจดำเนินการหรือออกคำสั่ง
หมวด 8 บทกำหนดโทษ
มาตรา 48 หากเกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน ของบุคคลใดจากการเฝ้าระวัง ป้องกัน หรือควบคุมโรค ให้ทางราชการชดเชยความเสียหายตามคำจำเป็น
มาตรา 13 กรณีที่ไม่บังคับใช้ในมาตรา 12 1. ยาที่ผลิตจากกระทรวง กรม เพื่อป้องกันและบำบัดโรค 2. ผลิตยาตามใบสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สำหรับคนไข้เฉพาะราย 3. ขายสมุนไพรที่ไม่ใช่ยาอันตราย ยาสามัญประจำบ้าน 4. การนำยาติดตัวเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งไม่เกินจำนวน ที่ตัวเองต้องใช้ใน 30 วัน
มาตรา 15 ประเภทใบอนุญาตยาแผนปัจจุบัน ใบอนุญาต -ผลิตยา -ขายยา -ขายยาเฉพาะยาบรรจุเสร็จสำหรับสัตว์ -ขายยาเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตราย หรือควบคุมพิเศษ -ขายส่งยา -สั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร -สั่งยาเข้ามาโดยกระทรวงสำหรับการป้องกัน และบำบัดโคร
หมวด 2
มาตรา 14 ออกใบอนุญาตให้ได้เมื่อ 1. เป็นเจ้าของกิจการและเป็นผู้มีทรัพย์พอที่จะตั้ง 2. ไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีกำหนดในราชกิจจานุเบกขา 3. อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี 4. มีที่ผลิต ขาย นำเข้าซึ่งมีลักษณะและจำนวนตามกฎ 5. มีถิ่นที่อยู่อาศัยในไทย 6. ใช้ชื่อในการกระกอบพาณิชกิจไม่ซ้ำหรือคล้ายคลึง 7. ไม่เคยได้รับโทษจำคุกเรื่องทุจริต 8. ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติตามต้องอยู่ประจำสถานที่ผลิต ขาย นำเข้า 9. สารเสพติดเว้นแต่พ้นโทษน้อยกว่า 2 ปี 10. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต
มาตรา 16 ใบอนุญาตตามมาตรา 15 ให้คุ้มกันถึงลูกจ้าง หรือตัวแทนผู้รับอนุญาตด้วย
มาตรา 17 ใบอนุญาตตามมาตรา 15 ให้ใช้ได้ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา 18 กรณีผู้อนุญาตไม่ออกหรือไม่ต่อใบอนุญาตให้ ผู้ขอมีสิทธิ์อุทรณ์ใน 30 วัน
มาตรา 34 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ดำเนินการ 1. ควบคุมไม่ให้ผู้ประกอบวิชาชีพประกอบวิชาชีพ ผิดไปจากแผนที่แจ้งไว้ในใบอนุญาต 2. ควบคุมและดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ ตามกฏหมายวิชาชีพของตน 3. ควบคุมดูแลไม่ให้รับผู้ป่วยค้างคืนเกินจำนวนเตียง ที่กำหนด เว้นกรณีฉุกเฉิน 4. ควบคุมให้สถานพยาบาลสะอาด เรียบร้อย ปลอดภัยและเหมาะสม
มาตรา 36 ผู้รับอนุญาตต้องดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาผู้ป่วย ซึ่งอยู่ในสภาพอันตราย จพำเป็นต้องรับการรักษา เป็นกรณีฉุกเฉิน
โทษทางอาญา 1. จำคุก 2. กับขัง 3. ปรับ 4. ริบทรัพย์สิน