Kategorier: Alle - สถิติ - การวิจัย - การวิเคราะห์ - ตัวแปร

av มุมีนะห์ ยูโซะ 4 år siden

300

สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย (Basic statistic and Data collection )

การใช้สถิติพื้นฐานมีบทบาทสำคัญในการวิจัย โดยใช้เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ประมาณค่า และพยากรณ์ รวมถึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ข้อมูลที่ใช้ในสถิติมีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทมีลักษณะเฉพาะและวิธีการวิเคราะห์ที่แตกต่างกัน เช่น ข้อมูลเรียบอันดับ ข้อมูลอันตรภาค ข้อมูลนามบัญญัติ และข้อมูลอัตราส่วน ข้อมูลแต่ละประเภทมีระดับความซับซ้อนและวิธีการคำนวณที่ต่างกัน ตัวอย่างเช่น ข้อมูลนามบัญญัติเหมาะสำหรับการจัดกลุ่มและใช้สถิติพื้นฐาน ข้อมูลอัตราส่วนสามารถนำไปวิเคราะห์ด้วยสถิติขั้นสูงได้ นอกจากนี้ ตัวแปรที่ใช้ในสถิติก็มีการแบ่งประเภทตามระดับการวัดและบทบาท เช่น ตัวแปรตามที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น และตัวแปรอิสระที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน สำหรับการใช้สถิติให้มีประสิทธิภาพ ควรตีความหมายและเสนอผลในรูปแบบมาตรฐานที่วงวิชาการยอมรับ หลีกเลี่ยงการนำเสนอที่คลาดเคลื่อน และสามารถแปลผลสถิติต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย (Basic statistic and Data collection )

สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย (Basic statistic and Data collection )

คำจำกัดความ

สถิติ หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ข้อมูลสถิติ (Statistics data)
คำว่า “สถิติ(Statistics)” มาจากภาษาเยอรมัน ว่า Statistics มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง ข้อมูลสารสนเทศซึ่งจะอำนวยประโยชน์ต่อการบริหารประเทศในด้านต่างๆ

ประเภทของข้อมูล

อัตราส่วน
ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว
เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หารได้ และมีศูนย์แท้ เช่นน้ำหนัก ความเร็ว ความกว้าง ความหนา พื้นที่ จำนวนเงิน อายุ ระยะทาง ซึ่งถ้ามีค่าเป็นศูนย์ หมายถึงไม่มี
อันตรภาค
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติชั้นสูงทุกตัว
เป็นข้อมูลที่เปตัวเลข สามารถบวก ลบ กันได้แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับความคิด
เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน
เรียบอันดับ
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดยเรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด
นามบัญญัติ
ใช้สถิติง่ายๆในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงตัวแทนของกลุ่มเท่านั้น ไม่สามารถนำไปบวก ลบ คูณ หาร ทางสถิติได้
เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูลหรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ อาชีพ เป็นต้น

ประเภทของสถิติ

Statistics
สถิติไร้พารามิเตอร์

เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง3 ประการข้างต้น สถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น ไรสแควร์,Median Test เป็นต้น

สถิติพารามิเตอร์

มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ

ข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป

สถิติว่าด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุป โดยมีการนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้ เช่น การประมาณค่า

วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร
Descriptive
สถิติเชิงพรรณนา

ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลนั้น มีอยู่ 2 ลักษณะ

การใช้แผนภาพ

การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข

ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร แต่อย่างใด

การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่

สถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิสัย เป็นต้น
เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูล

ตัวแปร

ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิติ
ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด

ตัวแปรอัตราส่วน

ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค

ตัวแปรอันดับ

ตัวแปรกลุ่มหรือนามมาตรหรือตามกำหนด

ประเภทตัวแปรตามบทบาท

ตัวแปรตาม

ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้นหรือผลของตัวแปรต้น

ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน เป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูแลผลที่ตามมา

วัตถุประสงค์การใช้สถิติ

ศึกษาการประมาณค่าหรือการพยากรณ์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีค่าความหมายผล
รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตาม
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการการสถิติมาใช้

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

ตีความหมาย
แปลผลคำสถิติต่างๆได้ถูกต้อง
เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการที่วงวิชาการยอมรับ
หลีกเลี่ยงการนำเสนอ