Kategorier: Alle - กำไร - นิติบุคคล - ภาษี

av kantamenee Nopparat 5 år siden

591

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคลเกี่ยวข้องกับการหักเงินบริจาคเพื่อการกุศล การศึกษา หรือกีฬา ซึ่งสามารถหักได้เป็น 1 เท่าหรือ 2 เท่าของจำนวนที่บริจาค โดยต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่าย นอกจากนี้ยังมีการกำหนดรอบระยะเวลาบัญชีที่ส่วนใหญ่จะเป็น 12 เดือน แต่สามารถมีรอบระยะเวลาบัญชีที่น้อยกว่าหรือมากกว่า 12 เดือนได้ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ เช่น การเลิกกิจการหรือการขอขยายระยะเวลาจากกรมสรรพากร ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและต่างประเทศ รวมทั้งกิจการที่ดําเนินการโดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ และกิจการร่วมค้า ทั้งนี้การคำนวณภาษีสามารถทำได้จากฐานกำไรสุทธิหรือรายรับก่อนหักรายจ่าย ขึ้นอยู่กับความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการจัดทำบัญชี

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

Type in the name of the company you are going to have an interview with.

การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย

Do you fully understand what this position implies?

After you've made some research on the company, read the job description thoroughly, and try to fully understand what your responsibilities will be.

การยื่นแบบแสดงรายการชําระภาษี
แบบแสดงรายการที่ยื่น ได้แก่ แบบ ภ.ง.ด. 54 (ถ้าไม่มีการส่งเงินได้ไปต่างประเทศก็ไม่ต้องยื่น)
นําส่งภาษีภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้พึง ประเมิน
เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) (ข)
เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4) (5) และ (6) นอกจากเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40 (4) (ข)

ร้อยละ 15

เงินได้ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต่างประเทศ ซึ่งผู้จ่ายมีหน้าที่หักภาษี ได้แก่ เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6)
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
ได้รับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6) ที่จ่ายจากหรือในประเทศ ไทยการเสียภาษีกรณีนี ้กฎหมายให้เสียโดยวิธีหักภาษี

การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานรายรับก่อนหักรายจ่าย

แบบแสดงรายการที่ใช้ยื่นคือ ภ.ง.ด.55 (ยื่นรอบระยะเวลาบัญชีละ 1 ครั ้ง)

ภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

เงินได้อื่นๆ นอกจากมาตรา 40(8)

ร้อยละ 10

เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่นใด ซึ่งเป็นเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40(8)

ร้อยละ 2

รายได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี

(3) เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หา

(2) เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการรับบริจาค

(1) ค่าลงทะเบียนหรือค่าบํารุงทีได้รับจากสมาชิก

กิจการขนส่งระหว่างประเทศ

แบบแสดงรายการที่ใช้ยื่น คือ ภ.ง.ด. 52 (ยื่นรอบระยะเวลาบัญชีละ 1 ครั ้ง)

ภายใน150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

กรณีรับขนของ

การรับขนของออกจากประเทศไทยนั้น

ให้คํานวณ ภาษีอัตราภาษีร้อยละ 3

กรณีรับขนคนโดยสาร

เรียกเก็บในประเทศไทย

ให้คํานวณภาษีอัตราภาษี ร้อยละ 3

3.ไม่ทําบัญชี ทําบัญชีแต่ไม่สมบูรณ์หรือไม่นําบัญชีมาให้ตรวจสอบเจ้าพนักงานประเมินมีอํานาจประเมินภาษีในอัตราร้อยละ 5 ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใด
2. มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการแล้วมีรายได้
1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งตามกฎหมายของต่างประเทศ

ฐานภาษีเงินได้นิติบุคคล

4. ฐานการจําหน่ายเงินกําไรออกไปจากประเทศไทย
3. ฐานเงินได้บางประเภทที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
2. ฐานรายรับก่อนหักรายจ่าย
1. ฐานกําไรสุทธิ

รอบระยะเวลาบัญชี

Research the company

You should find and learn as much as you can about the company where you are having an interview.

The interviewer will want to see what you know about them and why you chose the company.

Doing your homework will show that you are really interested.

3. รอบระยะเวลาบัญชีมากกว่า 12 เดือน
(2) อธิบดีกรมสรรพากรเห็นสมควร สั่งให้ขยายรอบระยะเวลาบัญชีของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เลิกกิจการเป็นการเฉพาะราย (โดยไม่ต้องมีการยื่นคําร้อง)
1.หากผู้ชําระบัญชีและผู้จัดการไม่ สามารถยื่นรายการและเสียภาษีได้ภายใน 150 วันนับแต่วัดสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีแล้ว
2. รอบระยะเวลาบัญชีน้อยกว่า 12 เดือน

What do you know about the company?


Type a short description of the company's background.

4.ควบเข้ากันให้ถือว่าบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลนั ้นเลิกกันรอบระยะเวลาบัญชีที่ควบเข้ากันจึงเป็นไปตาม (3) ซึ่งอาจน้อยกว่า 12 เดือน
3.ที่เลิกกันให้ถือเอาวันที่เจ้าพนักงานจดทะเบียน เลิกเป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี
2.อาจยื่นคําร้องขอเปลี่ยนวันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีก็ได
1.เริ่มตัั้งใหม่ จะถือวันเริ่มตั้งถึงวันหนึ่งวันใดเป็นรอบระยะเวลาบัญชีแรกก็ได้ แต่รอบระยะเวลาบัญชีต่อไปต้องเท่ากับ 12 เดือน
1. รอบระยะเวลาบัญชีโดยทั่วไป

Why do you want to work for this company?


Think of what you can do for them, not of what they can do for you.

สําหรับการคํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจะต้องเท่ากับ 12เดือน โดยจะเริ่มต้นและสิhนสุดลงเมื่อใดก็ได้

แหล่งเงินได้

Are you qualified for this position?


Interviewers will want to know whether or not you are able to do the job.

Answer the questions from this section and see if you are the right person for this position.

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ

What can you do for this job that other candidates can't? Why?

ให้เสียภาษีเงินได้เฉพาะจากกิจการหรือเนื่องจากกิจการที่กระทําในประเทศไทยเท่านั้น
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

Which qualities were easily observed by your colleagues and/or your former/existing boss?

Type them in.

เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามหลักแหล่งเงินได้ทั่วโลก

นิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษี

นิติบุคคลบางประเภทที่เข้าลักษณะต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
บริษัทจํากัดและนิติบุคคลที่มีสภาพเช่นเดียวกับบริษัทจํากัดซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศไทย

ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลที่อยู่ในประเทศที่มีอนุสัญญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษีซ้อนกับประเทศไทย ตามเงื่อนไขที่กําหนดในอนุสัญญา

บริษัทจํากัดที่ได้คับการยกเว้นภาษีเงินได้ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลต่างประเทศ
นิติบุคคลที่ไม่แสวงหากําไร
นิติบุคคลที่เป็นองค์การของรัฐ

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

What are your long-term goals ?


Type them in.

นิติบุคคลที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ให้เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร (ปัจจุบันยังไม่มีการประกาศกําหนด)
มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้
แต่ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล
กิจการร่วมค้า (Joint Ventrue)
ได้แก่ กิจการที่ดําเนินการร่วมกันเป็นทางค้าหรือหากําไรระหว่าง

บริษัทและหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา คณะบุคคลที่มิในิติบุคคลห้างหุ้นส่วนสามัญหรือนิติบุคคลอื่น

ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล กับ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

บริษัท กับ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

บริษัท กับ บริษัท

กิจการซึ่งดําเนินการเป็นทางค้า หรือหากําไร
นิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ
องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ
รัฐบาลต่างประเทศ
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ

มิได้เข้ามาทํากิจการในประเทศไทยโดยตรงหากแต่มีลูกจ้างหรือผู้ทําการแทนหรือผู้ทําการติดต่อ ในการประกอบกิจกการในประเทศไทย ซึ่งเป็นเหตุให้ได้รับเงินได้หรือผลกําไรในประเทศไทย

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต่างประเทศที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลใประเทศไทย

ได้จําหน่ายเงินกําไรหรือเงินประเภทอื่นที่กันไว้จากกําไร หรือถือได้ว่าเป็นเงินกําไรออกไปจากประเทศไทย

มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทยแต่ได้รับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) หรือ (6) ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย

รวมทั้งในประเทศไทยและกิจการที่กระทํานั้นเป็นกิจการขนส่งระหว่างประเทศ

เช่น สายการบินไชน่า แอร์ไลน์ จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายของประเทศจีน เข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทยโดยให้บริการขนส่งระหว่างประเทศไทยไปยังประเทศจีน

เช่น HSBC เป็นธนาคารฮ่องกง จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายของประเทศฮ่องกง เข้ามาเปิดสาขาในประเทศไทย และในประเทศอื่น

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต่างประเทศนั้น

เข้ามากระทํากิจการในประเทศไทย

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
สํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค
ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
ห้างหุ้นส่วนจํากัด
บริษัทมหาชน จํากัด
บริษัท จํากัด

การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานการจําหน่ายกําไรไปนอกประเทศ

การยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษี
แบบแสดงรายการที่ใช้ยื่น ได้แก่ ภ.ง.ด. 54 (ยื่นทุกครั ้งที่มีการจําหน่ายเงินกําไรออกไปจากประเทศไทย ถ้าเก็บกําไรไว้ในประเทศไทยไม่ต้องเสียภาษีฐานนี
ภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ ้นเดือนของเดือนที่จําหน่ายเงินกําไร
อัตราภาษี
วิธีการเสียภาษีจากการจําหน่ายเงินกําไรไปต่างประเทศนี้

อัตราร้อยละ 10

ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งจําหน่ายเงินกําไรหรือเงินประเภทอื่นใดที่กันไว้จากกําไรหรือที่ถือได้ว่าเป็นเงินกําไรออกไปจากประเทศไทย

การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกําไรสุทธิ

How ambitious are you?

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้จากกําไรสุทธิ
4. กิจการร่วมค้า
3. กิจการซึ่งดําเนินการเป็นทางการค้าหรือหากําไรโดยรัฐบาลต่างประเทศองค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลอื่นที่ตั ้งขึ ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ
2. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ
1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

การคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

เงื่อนไขการคํานวณกําไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม)
(20) รายจ่ายที่มีลักษณะทํานองเดียวกับที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (19) ซึ่งจะกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
(19) รายจ่ายใดๆ ที่กําหนดจ่ายจากผลกําไรที่ได้เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีแล้ว
(18) รายจ่ายซึ่งผ้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
(17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคาตํ่าลง ทั้งนี้ภายใต้บังคับมาตรา 65 ทวิ
(16) ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญหรือสิ้นไปเนื่องจากกิจการที่ทํา
(15) ค่าซื้อทรัพย์สินและรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อหรือขายทรัพย์สินในส่วนที่เกินปกติโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
(14)รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะ
(13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากําไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ
(12) ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกันใดๆ หรือขาดทุนสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนๆ เว้นแต่ผลขาดทุนสุทธิ ยกมาไม่เกิน 5 ปี ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปี ปัจจุบัน
(11) ดอกเบี้ยที่คิดให้สําหรับเงินทุน เงินสํารองต่างๆ หรือเงินกองทุนของตนเอง
(10) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเองและใช้เอง
(9) รายจ่ายซึ่งกําหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริงหรือรายจ่ายซึ่งควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอื่น
Subtopic
(8) เงินเดือนของผ้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนเฉพาะส่วนที่จ่ายเกินสมควร
(7) การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทนของผ้เป็ นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
(6) เบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มภาษีอากร
(5) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน
(4) ค่ารับรองหรือค่าบริการ

จํานวนเงินค่ารับรองและค่าบริการให้นํามาหักเป็นรายจ่ายได้เท่ากับจํานวนเท่าที่ ต้องจ่ายแต่รวมกันต้องไม่เกินร้อยละ 0.3 ของจํานวนเงินยอดรายได

ค่ารับรองหรือค่าบริการนั้น

จําเป็นตามธรรมเนียมประเพณีทางธุรกิจ

(3) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หา หรือการกุศล

รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการกุศล

รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการให้โดยเสน่หา

รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว

เช่น การจ่ายค่าซ่อมรถส่วนตัว เป็นต้น

(2) เงินกองทุน

เว้นแต่กองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ

(1) เงินสํารองต่างๆ
เงื่อนไขการคํานวณกําไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ
ภาษีขาย
มูลนิธิหรือสมาคม

4) ทรัพย์สินที่ได้รับจากการบริจาค หรือจากการให้โดยเสน่หา

3) เงินที่ได้รับจากการบริจาค หรือจาการให้โดยเสน่หา

2) เงินค่าบํารุงที่ได้รับจากสมาชิก

1) เงินค่าลงทะเบียนที่ได้รับจากสมาชิก

เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําไร
ดอกเบี้ยก้ยืมที่อย ู ่ในบังคับต้องถ ู ูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่าย
การคํานวณเงินปันผลเป็ นรายได
การจําหน่ายหนี้สูญ

คํานวณเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น หนี ้สูญรายใดได้นํามาคํานวณเป็นรายได้แล้วหากได้รับชําระในภายหลัง ก็มิให้นํามาคํานวณเป็นรายได้อีก

การคํานวณราคาทุนของสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ
การคํานวณราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจากต่างประเทศ
การตีราคาสินค้าคงเหลือ

ราคาสินค้าคงเหลือในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ให้คํานวณตามราคาทุนหรือ ราคาตลาด

การคํานวณมูลค่าของทรัพย์สินและหนี้สิน เมื่อมีค่าหรือราคาเป็นเงินตรา ต่างประเทศ
การโอนทรัพย์สินโดยไม่มีค่าตอบแทน

ตํ่ากว่าราคาตลาดโดยไม่มีเหตุอันสมควร

ตามราคาตลาดในวันที่โอน ให้บริการหรือให้กู้ยืมเงิน

เพื่อเป็นการป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษีเงินได้นิติบุคคล

ในกรณีโอนทรัพย์สินให้บริการหรือให้กู้ยืมเงินโดยไม่มีค่าตอบแทน

การตีราคาทรัพย์สิน

กรณีที่มีการตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้นห้ามมิให้นําราคาที่ตีราคาเพิ่มขึ้นมารวมคํานวณกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ

ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน

ข้อ 2 หลักเกณฑ์และวิธีการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา

2.4) การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาสําหรับทรัพย์สิน

2.3) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา

โดยใช้วิธีการ ทางบัญชีซึ่งมีอัตราการหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาไม่เท่ากันในแต่ละป

2.2) การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ให้คํานวณตามส่วนเฉลี่ยแห่งระยะเวลา

2.1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา

เลือกใช้วิธีการทางบัญชีที่รับรอง ทั่วไปโดยเมื่อได้ใช้วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไป

ข้อ 1 การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจะต้องไม่เกินอัตราร้อยละของมูลค่า ต้นทุน

มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภทอาคารถาวร

ในอัตราร้อยละ 25 ของมูลค่าต้นทุน

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรและ อุปกรณ์ของเครื่องจักร

ในอัตราร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภทอาคารโรงงาน

ส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไข และอัตราที่กําหนดไว้

ในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อยละ 25 ของมูลค่าต้นทุน

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน ประเภทคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หักได้

หักในอัตราร้อยละ 40 ของข้อมูลต้นทุน

1) ภายใน 3 รอบระยะเวลาบัญชีแต่วันที่ได้รับทรัพย์สินนั ้นมา

ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) ที่มีทรัพย์สินถาวร (ไม่รวมที่ดิน) ไม่เกิน 200 ล้านบาท และมีการแจ้งแรงงานไม่เกิน 200 คน

1.2) การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามอัตราพิเศษหรือจากราคาเบื้องต้น

ประเภทเครื่องบันทึกการเก็บเงิน

หรือเลือกหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื ้องต้นในอัตราร้ อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน

หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในอัตราร้อยละ 100 ของมูลค่าต้นทุน

ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักร และอุปกรณ์เครื่องจักร

ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน

การเช่าซืัอหรือซื้อขายเงินผ่อน

นํามาหักในรอบระยะเวลาบัญชีจะต้องไม่เกินค่าเช่าซื้อหรือราคาที่ต้องผ่อนชําระในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น

ทรัพย์สินประเภทรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกินสิบคนหรือรถยนต์นั่ง

ให้หัก ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนเฉพาะที่ไม่เกิน 1 ล้านบาท

1.1) การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามอัตราปกติ

อาคารชั่วคราว ร้อยละ 100

อาคารถาวร ร้อยละ5

รายการที่ระบุไว้ในมาตรา 65 ตรี

ไม่ให้ถือเป็นรายจ่าย (รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี ดูรายละเอียดในลําดับถัดไป

เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี
เงินปันผลที่บริษัทจดทะเบียน (กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย)

บริษัทจํากัดซึ่งถือหุ้นดังกล่าวไม่ต้องนําเงินปันผลทั ้งหมดที่ได้จากบริษัทจํากัดผู้จ่ายเงินปันผลนั ้นมารวมคํานวณเป็นรายได้เพื่อคํานวณกําไรสุทธิ

ถ้าถือหุ้นในบริษัทจํากัด ผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้ อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัทจํากัดผู้จ่ายเงินปันผล

เงินปันผลที่บริษัทจํากัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

ได้รับจากบริษัทจํากัด ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือเงินส่วนแบ่งกําไรที่ได้รับ จากกิจการร่วมค้ามารวมคํานวณเป็นรายได้เพียงกึ่งหนึ่งของจํานวนที่ได

เกณฑ์การพิจารณารายได้
ใช้เกณฑ์สิทธิ

ให้นํารายได้ที่เกิดขึ้นรอบระยะเวลาบัญชีใด แม้ว่าจะยังไม่ได้รับชําระในรอบระยะเวลาบัญชีนั ้นมารวมคํานวณเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น

รายได้เนื่องจากกิจการที่กระทํา
หมายถึง รายได้ที่มิได้เกิดจากการประกอบกิจการ โดยตรง แต่เป็นรายได้ที่ได้มาเนื่องจากการประกอบกิจการ
รายได้ที่ต้องนํามาคํานวณภาษี
รายได้จากกิจการ

หมายถึง รายได้ที่ได้มาจากการประกอบกิจการตามวัตถุประสงค์ของ บริษัทตามที่ระบุไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ

กําหนดให้รายได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล คือ กําไรสุทธิ ซึ่งคํานวณได้จากรายได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการที่กระทําในรอบระยะเวลาบัญชี หักด้วยรายจ่ายตามเงื่อนไข

เงินบริจาค

หักเป็นเงินบริจาคได้ 1 เท่า
รายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา
รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะฯ
หักเป็นเงินบริจาคได้ 2 เท่า
เพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณะประโยชน์และเพื่อการศึกษาหรือการกีฬา
แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของกําไรสุทธิก่อนหักรายจ่าย
เงินบริจาคของภาษีเงินได้นิติบุคคล สามารถบริจาคได้ทั ้งเป็นเงินหรือทรัพย์สินก็ได้

อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล

ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
รอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาทและมีรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการไม่เกิน 30 ล้านบาท(SMEs)

ร้อยละ 20 ของกําไรสุทธิของส่วนที่เกิน 3,000,000 บาท

ร้อยละ 15ของกําไรสุทธิเฉพาะส่วนที่เกิน 300,000 บาท ไม่ถึง 3,000,000 บาท

ยกเว้นภาษีเงินได้ 300,000 บาทแรก

ลดอัตราภาษีเงินได้สําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไ
จัดเก็บร้อยละ 20 ของกําไรสุทธิ
1. อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลโดยทั่วไป คือ ร้อยละ 30