Categorieën: Alle - สืบค้น - เครื่องมือ - เทคนิค - อินเทอร์เน็ต

door Natme Hasap 5 jaren geleden

254

Knowledge Inquiry

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตมีหลายวิธีที่ช่วยให้การค้นหาข้อมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การใช้รหัสกำกับคำค้น การสืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลหรือเมนูทางเลือก และการใช้ตรรกบูลลีนในการกำหนดเงื่อนไขการค้นหา นอกจากนี้ยังมีการใช้เครื่องหมายบวกหรือลบหน้าคำค้นเพื่อระบุว่าต้องการหรือไม่ต้องการคำที่กำหนดในผลการค้นหา การกรองข้อมูล การค้นหาคำพ้องความหมาย การค้นหาช่วงของตัวเลข หรือการใช้คำใกล้เคียงเพื่อกำหนดผลการสืบค้นได้อย่างแม่นยำ ทั้งนี้ยังมีการตัดคำโดยใช้เครื่องหมายแทนการตัดคำ หรือการสืบค้นในลักษณะของ Stemming ซึ่งเป็นการค้นหาจากรากของคำ เครื่องมือสืบค้นที่นิยมใช้งานบนอินเทอร์เน็ตได้แก่ Search engine เช่น Google, MSN และ Ask รวมถึง Web Directories ที่รวบรวมและแยกสารสนเทศเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น Dmoz, Business.

Knowledge Inquiry

Knowledge Inquiry

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต จัดทำขึ้นเพื่อสืบค้นสารสนเทศได้อย่างสะดวก โดยเว็บไซต์ที่ทำหน้าที่ค้นข้อมูล

เทคนิคการสืบค้น
อื่นๆ

ควรใช้คำที่หลากหลายและไม่ควรเกิน 32 คำ

การกรองสิ่งที่ค้นหา

การหาคำนิยาม

ค้นหาช่วงชุดของตัวเลข

ค้นคำหรือกลุ่มคำที่ไม่แน่ใจด้วย *

ค้นหาคำพ้องความหมาย

ค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด

การใช้คำใกล้เคียงโดยใช้ คำประกอบ เพื่อกำหนดผล การสืบค้น

BEFORE > ให้คำค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คำ โดย ต้องอยู่ตามลำดับ

FAR > ให้คำค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คำ หรือ >

Near > ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้กันระยะ 25 คำ สลับได้

ADJ >ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับลำดับได้

การใช้รหัสกำกับคำค้น

สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น

สืบค้นจากเมนูทางเลือก

การตัดคำ

การสืบค้นในลักษณะของ Stemming ( จากรากคำ )

ใช้เครื่องหมาย * แทนการตัดคำ

ตรรกบูลลีน

การใช้เครื่องหมายบวก หรือ ลบ หน้าคำค้นที่ต้องการ *บวก > ต้องมีคำที่กำหนดในผลการค้น *ลบ > ไม้ต้องมีคำที่กำหนดในผลการค้น

จากเมนูทางเลือก ว่าต้องการ สืบค้นเกี่ยวกับคำค้นอย่างไร

บางกลไกใช้ And,Ro,Not บางกลไก &,l,! ประกอบประโยคการค้น

Search engine เครื่องมือสืบค้น เครื่องมือสืบค้นที่อาศัยการทำงาน ของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น *โดยได้รับ การพัฒนาจากหลายบุคคล ทำให้แต่ ละตัวมีลักษณะต่างกัน

Ask

MSN

Google

Web Directories นามานุกรม เครื่องมือสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ บนอิสเทอร์เน็ต และแยกออกเป็นกลุ่ม

Business.com

Starting Point

Dmoz

Online Database การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และขอบเขตกว้าง ทำขึ้นเพื่อให้บริการสำหรับผู้ที่ต้องการสืบค้นสารสนเทศ โดยไม่มีข้อกำจัดด้านระยะทาง *ผู้ใช้บริการสามารถดาวน์โหลดและพิมพ์งานได้ทันที

การสืบค้น
เลือกรายการและบันทึกผล
แสดงผลการสืบค้น

แบบอิสระ แสดงผลที่กำหนดเขตข้อมูล ในการแสดงด้วยตัวเอง

แบบย่อ แสดงผลเฉพาะรายการทาง บรรณานุกรมเท่านั้น

แบบเต็มรูปแบบ แสดงทุกเขตข้อมูล

ลงมือสืบค้น

การสืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่ง

การสืบค้นโดยใช้เมนู

สืบค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม
วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกำหนดคำสำคัญ
ประเภท
ฐานข้อมูลทดลองใช้ เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศ นำมาทดลองให้บริการ ก่อนตัดสินใจซื้อหรือสมัคร เป็นสมาชิกฐานข้อมูลนั้นจริงๆ
ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ThaiLIS เป็นฐานข้อมูลที่สคอ.และ ThaiLIS เช่าใช้ฐานข้อมูล วิชาการ เพื่อให้มหาวิทยาลัยของรัฐร่วมกันใช้สืบค้นสารสนเทศ
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุด บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลมาใช้บริการกับผู้ใช้

AGRICOLA

Wilson Omnifile

IOP Electronic Journals

Online Public Access Catalog (OPAC) เป็นรูปแบบเครื่องมือการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมอนไลน์ ซึ่งเปลี่ยนจากรูปแบบบัตรรายการในตู้ ->ระเบียนในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์

ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น
Periodical Index ข้อมูลดรรชนีวารสาร ของบทความในวารสาร( ภาษาไทย ) และหนังสือพิมพ์

หัวเรื่อง

ISSN เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร

Journal ชื่อวารสาร บอกเกี่ยวกับ ชื่อ ปีที่พิมพ์ ฉบับที่ เดือน ปี เลขหน้า

สถานที่

Library that have this journal ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารนั้นๆ

Year ปี > ปีที่พิมพ์

ชื่อผู้แต่ง

Bibliographic description ข้อมูลบรรณานุกรม ของทรัพยากรสารสนเทศที่ตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์

Subtopic

ISBN เลขมาตรฐาน เป็นเลขประจำหนังสือแต่ละรายการ

Subject หัวเรื่อง เป็นการระบุคำที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากร

Location สถานที่ เป็นการบอกห้องสมุดของทรัพยากรนั้น

Note หมายเหตุ เป็นการระบุข้อมูลของทรัพยากรเพิ่มเติม

Description รูปเล่ม บอกเกี่ยวกับจำนวนหน้า ภาพประกอบ ขนาด

Call number เลขเรียกหนังสือ

Status สถานภาพ

ใช้ภายในห้องสมุด

อยู่ระหว่างซ่อมแซม

อยู่ระหว่างจัดหมวดหมู่ทำรายการ

อยู่ระหว่างการซื้อ

อยู่บนชั้น

มีการยืมออกก็จะระบุวันกำหนดส่ง

Imprint พิมพ์ลักษณ์

สถานที่พิมพ์ > เมืองประเทศ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์

ครั้งที่พิมพ์

Title ชื่อเรื่อง ของหนังสือ ชื่อวารสาร วิทยานิพนธ์

Auther ชื่อผู้แต่ง เป็นชื่อบุคคลหรือชื่อหน่วยงาน

วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางต่างๆ
หากต้องการได้รายละเอียดสมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิก ที่รายการนั้น ระบบจะแสดงผลโดยละเอียด ประกอบด้วย

รายละเอียดทางบรรณานุกรม

สถานที่มีทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ

เลขเรียกหนังสือ

หากต้องการได้รายละเอียดย่อของรายการใด ให้คลิก ที่รายการนั้น ระบบจะแสดงรายละเอียดดังกล่าว ประกอบด้วย

ปีที่พิมพ์

ชื่อผู้รับผิดชอบ

ชื่อเรื่อง

ป้อนข้อมูลตามรายการที่เลือก แล้วกดค้นหา ระบบจะ ทำการสืบค้นและแสดงผล พร้อมทั้งแสดงจำนวนรายการ
เลือกเมนูต่างๆ หน้าจอรายการหลักของ OPAC *ควรเลือกให้เมนูให้ถูก

หัวเรื่อง หากเป็นชื่อหัวเรื่องให้เลือก Subject

ชื่อเรื่อง หากเป็นชื่อเรื่องของหนังสือให้เลือก Title

ชื่อผู้แต่ง หากจะค้นหาโดยใช้ชื่อผู้แต่ง ให้เลือก Auther