Categories: All - กำไร - กิจการ - ภาษี

by Krittika Ngandee 5 years ago

293

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

การจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะมีรายละเอียดที่ต้องพิจารณาหลายประการ รวมถึงประเภทของรายรับที่ได้รับยกเว้นภาษี เช่น รายรับจากการขายอสังหาริมทรัพย์และหลักทรัพย์ รายรับจากธนาคารพาณิชย์และกิจการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะสามารถดำเนินการได้หากมีการชำระภาษีเกินหรือผิดพลาด โดยต้องยื่นคำร้องภายใน 3 ปีจากวันที่กำหนด การขอคืนต้องแนบหลักฐานต่าง ๆ เช่น ใบเสร็จรับเงินภาษีและหนังสือรับรองการจดทะเบียน การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะครอบคลุมกิจการหลายประเภท เช่น บรรษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า สถาบันพัฒนาองค์การชุมชน และอื่น ๆ การยกเว้นนี้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาที่กำหนดขึ้น นอกจากนี้ยังมีการยกเว้นสำหรับกิจการเฉพาะทางอื่น ๆ เช่น การขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์และการให้กู้ยืมเงินตามโครงการพัฒนาคนจนในเมือง

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการในระบบภาษีธุรกิจเฉพาะ

หน้าที่ในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ

(www.rd.go.th)

ณ สํานักงานสรรพากรอําเภอหรือเขตที่สถานประกอบการตััง

แบบแสดงรายการที่ใช้และกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการ

ในเดือนภาษีใด ถ้าจํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะไม่ถึง 100 บาทให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับเดือนภาษีนั้น แต่ผู้ประกอบกิจการหรือผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ยังคงมีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการตามปกติ

ยื่นแบบแสดงรายการเป็นรายเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป

ยื่นนแบบแสดงรายการและชําระภาษีโดยใช้แบบ ภ.ธ.40

ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ

ลูกจ้าง ตัวแทน หรือผู้ทําการแทนซึ่งมีอํานาจในการจัดการแทนโดยตรงหรือโดย ปริยายที่อยู่ในราชอาณาจักรของผู้ประกอบกิจการ

ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการประกอบกิจการในราชอาณาจักรของผู้ประกอบกิจการ อยู่นอกราชอาณาจักร

บุคคลซึ่งประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะที่ไม่ได้รับการยกเว้น

หน้าที่ในการเก็บรักษารายงานและเอกสารหลักฐาน
ต้องเก็บและรักษารายงานพร้อมทั้งเอกสารประกอบ การลงรายงานหรือเอกสารที่อธิบดีกําหนดไว้ ณ สถานประกอบการจัดทํารายงานนั ้น
หน้าที่ในการจัดทํารายงาน
จัดทํารายงานแสดงรายรับก่อนหักรายจ่ายที่ต้องเสียภาษีและรายรับที่ไม่ต้องรวมคํานวณเพื่อเสียภาษ
หน้าที่ในการออกใบรับ
ได้รับชําระแต่ละครั้งเกิน 100 บาท ต้องออกใบรับให้แก่ ผู้จ่ายเงินหรือผู้ชําระราคาในทันทีทุกคราวที่รับเงินหรือรับชําระราคา
หน้าที่ในการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
วิธีการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

การเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้จดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะไว้แล้ว

การเลิกประกอบกิจการให้แจ้งภายใน 15 วัน นับแต่วันเลิกประกอบกิจการ

การหยุดประกอบกิจการชั่วคราวเป็นเวลาติดต่อเกินกว่า 30 วัน ให้แจ้งการ หยุดดังกล่าวภายใน 15 วัน นับแต่วันหยุดประกอบกิจการชั่วคราว

การย้ายสถานประกอบการ ให้แจ้งก่อนวันย้ายสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 15 วัน

การปิดสถานประกอบการบางแห่งให้แจ้งภายใน 15 วันนับแต่วันเปิดสถาน ประกอบการ

การเปิดสถานประกอบการเพิ่มเติม ให้แจ้งก่อนวันเปิดสถานประกอบการ เพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 15 วัน

การเปลี่ยนแปลงชื่อสถานประกอบการ ประเภทกิจการ ประเภทสินค้าหรือ บริการเป็นต้น ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น

ใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

ใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด

การแสดงใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

สถานที่จดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

**ผู้ประกอบการธุรกิจเฉพาะบางประเภทไม่ต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่

ผู้ประกอบการอื่นตามที่อธิบดีประกาศกําหนดเมื่อมีเหตุอันสมควร

ผู้ประกอบกิจการที่ประกอบการเป็นการชั่วคราว

ผู้ประกอบกิจการขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ในจังหวัดอื่น

Subtopic

สํานักงานสรรพากรอําเภอหรือกิ่งอําเภอท้องที่ที่สถานประกอบการ ตั้งอยู่

ในกรุงเทพมหานคร

สํานักงานเขตท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่

สํานักงานภาษีสรรพากรพื้นที่ ที่สถานประกอบการตั้งอยู่หรือ

กําหนดเวลาในการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

ต้องยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มประกอบกิจการ

เอกสารที่ต้องแนบพร้อมแบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

เอกสารอื่นๆ (ถ้ามี)

แผนที่สังเขปหรือภาพข่ายสถานประกอบการ

ภาพถ่ายบัตรประจําตัวกรรมการผู้จัดการ หรือหุ้นส่วนผู้จัดการ ในกรณีเป็น บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

สําเนาหรือภาพถ่ายหนังสือรับรองของนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกระทรวง พาณิชย์

สําเนาหรือภาพถ่ายหนังสือสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วน

สําเนาหรือภาพถ่ายสัญญาเช่าอาคารอันเป็นที่ตั ้งสถานประกอบการ

สําเนาหรือภาพถ่ายทะเบียนบ้าน และหรือหลักฐานแสดงการอยู่อาศัย

การกรอกแบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ

การลงชื่อของผู้ประกอบกิจการ และการประทับตรานิติบุคคล

เอกสารแนบ

ประเภทของการประกอบกิจการ

วันเริ่มประกอบกิจการ

ชื่อและสถานที่ตั้งสถานประกอบการ

ชื่ออผู้ประกอบกิจการ

แบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภ.ธ.01)

ต้องยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะแบบ ภ.ธ.01 ภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มประกอบกิจการ

ฐานภาษีธุรกิจเฉพาะ

รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ที่ผู้ประกอบกิจการได้รับหรือพึงได้รับเนื่องจากการประกอบกิจการ
รายรับของผ้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

ธุรกิจแฟ็คเตอริง ได้แก่ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ

กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

กิจการขายหลักทรัพย์ ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ รายรับจากการประกอบกิจการคือ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ

กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากําไร รายรับจากการประกอบกิจการคือ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ

เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ใดๆ อันมีมูลค่าที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายของที่หลุดจํานําเป็นสิทธิ

ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม

กิจการประกันชีวิต ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ

กิจจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ หรือกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์

กําไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตรา การออกตั๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี ้ใดๆ หรือการส่งเงินไปต่างประเทศ

ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ หรือกําไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการ ซื้อหรือขาย

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
มีความหมายเช่นเดียวกับผู้ประกอบการที่มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งอธิบายไว้แล้วในเรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม รวมทั้งในกรณีที่บุคคลอยู่นอกราชอาณาจักรประกอบกิจการโดยผ่านผู้ประกอบการหรือตัวแทนของตนที่อยู่ในราชอาณาจักรให้ถือว่าประกอบกิจการในราชอาณาจักร
ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
การประกอบกิจการอื่น

การประกอบธุรกิจแฟ็คเตอริง เป็นกิจการที่อย่ใูนบังคับต้องเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะ

“ธุรกิจแฟ็ คเตอริง” หมายความว่า ธุรกิจที่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการตกลงจะโอนทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชําระหนี ้ เนื่องจากการขายสินค้าหรือการให้บริการระหว่างตนกับลูกหนของตนให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจแฟ็คเตอริงโดยผู้ประกอบธุรกิจแฟ็คเตอริงจะให้สินเชื่อ ซึ่งรวมถึงการให้กู้ยืมเงินและการทดรองจ่ายแก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ และรับที่ดําเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด

กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์

การขายหลักทรัพย์
การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากําไร
การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
การรับจํานําตามกฎหมายว่าโรงรับจํานํา
การรับประกันชีวิตตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต
การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
การธนาคาร
เป็นบุคคล คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล หรือนิติบุคคล
องค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และองค์กรอื่นที่กฎหมายกําหนดให้เป็นนิติบุคคล
หน่วยงานหรือกิจการของเอกชนที่กระทําโดยบุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปอันมิใช่นิติบุคคล
กองทุน
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
กองมรดก
คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
บุคคลธรรมดา

ความผิดทางภาษีธุรกิจเฉพาะ

ความผิดทางอาญา
ต้องรับผิดระวางโทษปรับจํานวน 2,000 บาทหรือทัังจําทัั้งปรับ
กรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีภาษีธุรกิจเฉพาะฉบับปกติล่าช้า
ความผิดทางแพ่ง
เงินเพิ่ม

กรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีภาษีธุรกิจเฉพาะฉบับปกติล่าช้า และมีเงินภาษีต้องชําระผู้ประกอบกิจการต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชําระตามแบบแสดงรายการ

เบี้ยปรับ

กรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีไว้ไม่ถูกต้องหรือมีข้อผิดพลาดเป็นเหตุให้จํานวน ภาษีที่ต้องเสียในแต่ละเดือนคลาดเคลื่อนไปจะต้องเสียเบี้ยปรับอีก 1 เท่าของเงินภาษีที่เสียคลาดเคลื่อน

กรณีมิได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะภายในกําหนดเวลาจะต้องเสีย เบี้ยปรับอีก 2 เท่าของเงินภาษีที่ต้องเสียในแต่ละเดือนภาษี

กรณีมิได้ยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะจะต้องเสียเบี้ยปรับอีก 2 เท่าของเงินภาษีที่ต้องเสียในแต่ละเดือนภาษีตลอดระยะเวลาที่ไม่จดทะเบียนหรือเป็นเงิน1,000 บาทต่อเดือนแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า

การขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ

กําหนดเวลายื่นคําร้อง
ยื่นคําร้องขอคืนเงินภาษีภายใน 3 ปี นับแต่วันพ้นกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการภาษี
เอกสารที่ต้องแนบพร้อมคําร้องขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ
หลักฐานอื่นที่เกี่ยวจ้องกับประเด็นที่ขอคืน
ใบเสร็จรับเงินภาษีธุรกิจเฉพาะ
หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล กรณีผู้ขอคืนเป็นนิติบุคคล
แบบคําร้องขอคืนเงินภาษีอากร
แบบ ค.10
ผู้มีสิทธิขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่
ผู้ไม่มีหน้าที่เสียภาษีแต่ได้ชําระภาษีไว้
ผู้ประกอบกิจการที่มีหน้าที่เสียภาษี ซึ่งได้ชําระภาษีไว้เกิน หรือผิด หรือซํ ้า

การคํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะ

รายรับ * อัตราภาษี

อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ

ร้อยละ 3
กิจการอื่นที่จะกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากําไร
กิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
กิจการธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
กิจการธนาคารพาณิชย์
ร้อยละ 2.5
กิจการโรงรับจํานํา
กิจการประกันชีวิต
ร้อยละ 0.1
สําหรับรายรับจากการกิจการขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์

รายรับที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ

รายรับที่เป็นกําไรของกิจการขายอสังหาริมทรัพย์
รายรับที่เป็นกําไรของกิจการซื้อและขายหลักทรัพย
รายรับที่ เป็นกําไรของกิจการธนาคาร
รายรับที่เป็นดอกเบี้ย ของกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย
รายรับของธนาคารพาณิชย์ที่เป็นกิจการวิเทศธนกิจ

กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ

กิจการอื่นตามที่กําหนดยกเว้นโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 240) เช่น
กิจการของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
กิจการของสถาบันพัฒนาองค์การชุมชน(องค์การมหาชน) เฉพาะการประกอบ กิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
กิจการของการเคหะ เฉพาะการให้กู้ยืมเงินตามโครงการพัฒนาคนจนในเมือง
กิจการของบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย
กิจการขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาด หลักทรัพย์
กิจการของบรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน
กิจการขององค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน
กิจการของธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย
กิจการของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม
กิจการของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม
กิจการรับจํานําของกระทรวง ทบวง กรม และราชการส่วนท้องถิ่น
กิจการของการเคหะแห่งชาติเฉพาะการขาย หรือการให้เช่าซื ้ออสังหาริมทรัพย
กิจการของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
กิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์ เฉพาะการให้กู้ยืมแก่สมาชิก หรือสหกรณ์ออมทรัพย์อื่น
กิจการของบรรษัทเงินทุนหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (IFCT)
กิจการของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร