สังคมเรียนรู้
(Knowledge Society)
กระบวนการจัดการความรู้
(Processes of Knowledge)
1.การบ่งชี้ความรู้
2.การสร้างและแสวงหาความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
7.การเรียนรู้
ความรู้
(Knowledge)
ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)
2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ
รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ
1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ
ความหมายของความรู้
(Definition of Knowledge)
สรุปได้ว่า ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัย กระบวนการที่แปรผล
ชาร์ราชและยูโซโร(Sharratt and Usoro,2003:188) : ความรู้คือความสัมพันธ์
เกี่ยวข้องโดยตรงระหว่างความเข้าใจ ตลอดจนการให้ข้อมูลข่าวสารที่ชัด
อลาวี และลีเดอร์ (Alavi and Leidner ,2001 : 109) : ความรู้คือสิ่งที่พิสูจน์ให้เห็น
ว่าเป็นการเพิ่มขีดความสามารถที่จะนำมาซึ่งประสิทธิภาพที่ดีกว่า
พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) : กระบวนการขัดเกลา เลือกใช้ และบูรณาการ การใช้สารสนเทศเหล่านั้นจนเกิดความรู้ใหม
วิศิณ ชูประยูร (2545 : 29) : ข้อเท็จจริงและ/
หรือสารสนเทศทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ หลักการ กฎธรรมชาติ ความชำนาญเฉพาะทางและกระบวนการ
ปฏิสัมพันธ์ในสังคมเพื่อรู้เขารู้เรา
ภราดร จินดาวงศ์ (2549 : 4) : สิ่งที่ได้มาโดย
การศึกษา ประสบการณ์ทักษะ การอบรม การดูงาน
หรืออาจเกิดจากการค้นหา ค้นคว้า ค้นพบ ได้เห็น ได้ฟังของแต่ละบุคคล
Haraldsson (2003) : การไหลเวียนของความ
รู้สึก ปฏิกริยาตอบกลับการตัดสินใจ สารสนเทศและกระบวนการเรียนรู้
Davenport and Prusak (1998) :
ส่วนผสมที่เกิดจากประสบการณ์การทำงาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้
สารสนเทศ (Information)
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สรุปความหมายของสารสนเทศ ได้ดังนี้สารสนเทศ
หมายถึงข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบต่างๆ
Orna (1998) : การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์
เพื่อการสื่อสารไปยังบุคคลอื่นทั้งในรูปแบบต่างๆ
Turban (2006) : ข้อมูลที่ผ่านการจัดการและ
ตีความหมายแล้วมีคุณค่าต่อผู้รับเพื่อการนำไปใช้งาน
คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (2544) : แก่นหรือ
เนื้อหาที่สำคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้
ทราบ อาจเป็นข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ซึ่งผ่านการกลั่น
กรอง ประมวล เรียบเรียงและจัดเก็บโดยบันทึกสื่อ
ชนิดต่างๆ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549) : ข้อมูล
ที่ถูกมนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว สามารถสื่อความ
หมายได้โดยมีความครอบคลุมที่กว้างกว่า
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) : ข้อมูลที่มี
คุณค่าและคุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจำนวนและคุณภาพ
ข้อมูล (Data)
ประเภทของข้อมูล
5) ข้อมูลเสียง
(Voice Data)
4) ข้อมูลภาพลักษณ์
(Image Data)
3) ข้อมูลกราฟิก
(Graphical Data)
2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ
(Text Data)
1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน
(Numeric Data)
ความหมายของข้อมูล
สรุปได้ว่า ข้อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ : บันทึกที่แสดงความเป็นไปได้หรือเป็นข้อเท็จจริง
วิจารย์ พานิช(2546) : ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อมูลเชิงปริมาณ
พรธิดา วิเชียรปัญญา(2547) : ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงานประจำวัน ถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ
Ackoff(1989) : สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
(Society Knowledge Characteristics)
11.ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
10.มีความรับผิดชอบร่วมกัน
9.มีสถาบันการศึกษาเป็นส่วนหนึงของสังคม
8.มีการริเริ่ม/เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
7.มีภาคีเครือข่าย
6.พัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
5.มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง
4.สถาบันทางสังคมเป็นตัวริเริ่ม/ดำเนินการ
3.ประชาชนได้รับโอกาศการพัฒนา
2.เน้นการจัดการเรียนรู้
1.ไม่จำกัดขนาดและสถานที่
ยุคความรู้
(knowledge)
ยุคที่ 2
พอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้
ให้เป็นพลัง
4.มีการประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge)
3.มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่
(Knowledge Creation)
2.มีการถ่ายโอนความรู้ (Knowledge Transfer)
1.มีการสะสมความรู้ (Collect Knowledge)
ยุคที่ 1
พลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ
จะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้
5.การกระจายความรู้
(Knowledge Dissemination)
4.การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้
(Knowledge Optimization)
3.การตีค่า การตีความรู้
(Knowledge Valuation)
2.การประเมินความถูกต้องของความรู้
(Knowledge Validation)
1.การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
(Knowledge Access)
นิยามหรือความหมาย
(Definition of Knowledge Society)
เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อต่างๆ จนสามารถสร้างความรู้ มีการถ่ายทอด
แลกเปลี่ยน และใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการเลือกและตัดสินใจ
สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์
จากเครือข่ายสารสนเทศสูง
วัตถุประสงค์
(Objectives)
อธิบายกระบวนการ
จัดการความรู้ได้
อธิบายความหมาย
ประเภทของความรู้ได้
อธิบายลักษณะสำคัญทางสังคมความรู้ได้