Categories: All - ปัญหา - นโยบาย

by M4 06 08 นส. สุนทรี ธรรมรัตน์ 3 years ago

2978

ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างประเทศในสมัยรัชกาลที่5

ในสมัยรัชกาลที่ 5 การบริหารราชการแผ่นดินได้รับการปรับปรุงอย่างมีนัยสำคัญ โดยมีการจ้างที่ปรึกษาและข้าราชการต่างชาติเข้ามาช่วยเสริมความมั่นคงและประสิทธิภาพในการบริหารงาน ที่ปรึกษาราชการได้รับมอบหมายหน้าที่ใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์และทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ส่วนที่ปรึกษาประจำกระทรวงและกรมต่างๆ มีบทบาทสำคัญในหลายกระทรวง เช่น กระทรวงการคลัง การต่างประเทศ และยุติธรรม อย่างไรก็ตาม ปัญหาและอุปสรรคก็เกิดขึ้นจากทั้งฝ่ายไทยและต่างชาติ ฝ่ายไทยมักมีปัญหาการบริหารที่เน้นตัวบุคคลและความสัมพันธ์ส่วนตัว ขณะที่ฝ่ายต่างชาติมักแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว นโยบายการจ้างชาวต่างชาติของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีความชัดเจนว่ารัฐบาลสยามเป็นผู้ชี้ขาดตำแหน่งเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ มูลเหตุสำคัญในการจ้างชาวต่างชาติคือการรักษาเสถียรภาพและเอกราชของชาติให้พ้นจากลัทธิจักรวรรดินิยม ดังนั้นชาวต่างชาติที่มีความเชี่ยวชาญสูงจึงได้รับการคัดเลือกเข้ามารับราชการในตำแหน่งที่สำคัญ

ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างประเทศในสมัยรัชกาลที่5

ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างประเทศในสมัยรัชกาลที่5

3ข้าราชการต่างชาติประจำกรมกองต่างๆ

หน่วยงานในสังกัตกระทรวงมหาดไทย หน่วยงานในสังกัตกระทรวงการคลัง หน่วยงานในสังกัตกระทรวงเกษตรธิการ หน่วยงานสังกัตกระทรวงโยธาธิการ หน่วยงานในสังกัตกระทรวงกลาโหม หน่วยงานในสังกัตกระทรวงนครบาล

2ที่ปรึกษาประจำกระทรวงและกรมต่างๆ

กระทรวงการคลัง การะทรวงการต่างประเทศ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

1ที่ปรึกษาราชการทั่วไป

ตำแหน่งหน้าที่เกี่ยวข้องใกล้ชิดสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยเฉพาะการกราบบังคมถวาย ข้อแนะนำเกี่ยวกันบความมันคงของประเทศชาติทั้งยังทำหน้าทีประสานงานดำเนินงานกับสนาบดีกรมพลางต่างๆ

นโยบายการจ้างชาวต่างชาติ

พระราชโยบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในการคัดเลือกชาวต่างชาติเข้ารับราชการนั้นรัฐบาลสยามจะเป็นผู้ชี้ขาดว่าผู้ใดควรดำรงตำแหน่งไหนเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศไม่ใช่แต่งตั้งตามความต้องการของประเทศนั้นๆดังนั้นการคัดเลือกข้าราชการต่างชาติแต่ละครั้งแสดงถึงนโยบายต่างประเทศอันฉลาดหลักแหลมของสยามเช่นการจ้าวชาวเยอรมันในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของชาติเช่นกรมรถไฟกรมไปรษ

ปัญหาและอุปสรรค

Subtopic
ปัญหาจากฝ่ายไทย ปัญหาจากผู้บริหารเนื่องจากการบริหารราชการแบบไทยจะผูกพันกับตัวบุคคลมากกว่าผลงานผู้บังคับบัญชาจะใช้อำนาจในการพิจารณาความดีความชอบหรือตัดสินลงโทษ ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยอาศัยความสนิทสนมในระบบอุปถัมป์หรือเป็นรากฐานเกิดภาวะความขัดแย้งกับข้าราชกาลต่างชาติในระดับรองลงไปซึ้งปฏิบัติหน้าที่ยึดถือผลงานเป็นหลัก ปัญหาจากต่างชาติ ปัญหาการการแสวงหาผลประโยชน์ของข้าราชกาลต่างชาติที่มารับราชกาลส่วนใหญ่ล้วนมีจุดมุ่งหมายการแสวงหาผลประโยชน์ทั้งผู้ที่มารับราชกาลระยะสั้นและระยะยาวผู้ที่เข้ามาก็จะรีบเรียกร้องสิ่งตอบแทนอย่างเต็มที่

มูลเหตุการณ์จ้างชาวต่างชาติ

นโยบายของสยามในรัชการที่5คือการสเถียรภาพของบ้านเมืองเพื่อรักษาเอกราชของชาติให้รอดพ้นจากลัทธิจักวรรดินิยมด้วยเหตุผลนี้รัฐบาลจึงต้องจ้างชาวต่างชาติที่มีความเชี่ยวชาญมาเป็นที่ปรึกษาเฉพาะด้านเข้ามารับราชการ