Categories: All - วัฒนธรรม - เศรษฐกิจ - สังคม

by PunPun 6749 3 years ago

14949

พัฒนาของทวีปยุโรป

ยุโรปมีการพัฒนาในหลายด้านทั้งเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ด้านเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงจากระบบเกษตรกรรมแบบพึ่งตัวเองในสมัยโบราณและสมัยกลาง มาเป็นระบบทุนนิยมในสมัยใหม่ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองก็มีบทบาทสำคัญเช่นกัน โดยแบ่งออกเป็นยุคสมัยตั้งแต่สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบัน ภูมิศาสตร์ที่ตั้งของยุโรปในซีกโลกเหนือที่มีที่ราบลุ่ม ที่ราบสูง เทือกเขา และคาบสมุทรหลายแห่ง ทำให้ยุโรปเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์และดึงดูดผู้คนให้มาตั้งถิ่นฐาน ด้านสังคมและวัฒนธรรมมีการพัฒนาตามยุคสมัย โดยเฉพาะสมัยใหม่ที่มีการปฏิวัติวิทยาศาสตร์และการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ ทำให้ความรู้แพร่หลายมากขึ้น สังคมในสมัยโบราณและสมัยกลางมีการแบ่งชนชั้นอย่างชัดเจน การพัฒนาทั้งหมดนี้ทำให้ยุโรปเป็นทวีปที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์

พัฒนาของทวีปยุโรป

พัฒนาของทวีปยุโรป

ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์

ทวีปยุโรปเป็นดินแดนที่มีมนุษย์เข้าไปตั้งถิ่นฐานเมื่อประมาณ 10,000 ปีมาแล้ว
ซึ่งมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ล้าหลังมาก ต่อมาจึงได้พัฒนาขึ้น

จนกระทั่งสมัยกรีกและโรมันได้สรรค์สร้างวัฒนธรรม

ทางด้านปรัชญา วรรณกรรม ศิลปกรรม และการปกครองเป็นของตนเอง

ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีผล ต่อพัฒนาการของประเทศ

ความอุดมสมบูรณ์ของผืนดินและการมีแม่น้ำสายต่าง ๆ
รวมทั้งการมีอุณหภูมิที่อบอุ่น

เหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่ดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาตั้งหลักแหล่ง

ทวีปยุโรปตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือ ประกอบด้วยที่ราบลุ่ม ที่ราบสูง เทือกเขา และมีคาบสมุทรจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่าเป็นดินแดนแห่งคาบสมุทร
ประกอบด้วยที่ราบลุ่ม ที่ราบสูง เทือกเขา และมีคาบสมุทรจำนวนมาก

จึงได้ชื่อว่าเป็นดินแดนแห่งคาบสมุทร

พัฒนาด้านเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบทุนนิยม
เศรษฐกิจในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5–11

เป็นระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ (Nanorial System)

เศรษฐกิจของยุโรปขึ้นอยู่กับการเกษตรตามบริเวณลุ่มแม่น้ำ

ซึ่งเป็นเศรษฐกิจเกษตรกรรมแบบพึ่งตัวเอง

พัฒนาการด้านสังคมและวัฒนธรรม

ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมเจริญก้าวหน้าโดยเฉพาะทางความรู้ด้านต่าง ๆ มีการรื้อฟื้นวิทยาการสาขาต่าง ๆ ของกรีกและโรมัน

ทำให้เกิดการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ การประดิษฐ์แท่นพิมพ์ขึ้นใช้ได้ผลเป็นครั้งแรกในยุโรป เมื่อ ค.ศ. 1454

ทำให้มีการอ่านหนังสือกันอย่างกว้างขวาง

เป็นสังคมแมนเนอร์ที่มีปราสาทของขุนนางเป็นศูนย์กลางชุมชน แบ่งออกเป็น 2 ชั้น

และบาทหลวง และชนชั้นสามัญชน

คือ ชนชั้นปกครองประกอบด้วยกษัตริย์ ขุนนาง

และชนชั้นที่ถูกปกครอง ได้แก่

เสรีชนที่ประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น พ่อค้า เกษตรกร ช่างฝีมือ รวมถึงทาส

กรีกและโรมันเป็นสังคมชนชั้น โดยแบ่งพลเมืองเป็นชนชั้นปกครอง

ได้แก่ ผู้นำทางการเมือง เช่น กษัตริย์ กงสุล จักรพรรดิ รวมถึงทหารและขุนนาง

พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง

แบ่งตามยุคสมัยประวัติศาสตร์เป็น 4 สมัย
คือ

สมัยปัจจุบัน

สมัยใหม่

สมัยกลาง

สมัยโบราณ